-
-
พิกัดโกษฐ์
-
พิกัดเกสร
-
คณาเภสัช
-
ชื่อพฤกษศาสตร์ของต้นพืชคืออะไร?
-
อนุกรมวิธานพืชกับชื่อพฤกษศาสตร์ของพืช
-
ประเภทผลิตผลจากพืช
-
เครื่องปรุง(คณาเภสัช)
-
ประเภทส่วนต่างๆของพืชชนิดเดียวกันใช้ร่วมกันส่วนต่างๆของพืชชนิดเดียวกัน
-
ประเภทเมล็ด
-
หมูหริ่ง
-
หมูป่า
-
หมีที่พบในประเทศไทย
-
เสือโคร่ง
-
โคโรค
-
วัว
-
เลียงผา
-
ลิ่น
-
แรด
-
เม่น
-
แพะ
-
อำพัน
-
ลำพันแดง
-
ปลาพะยูน
-
ช้าง
-
สมุนไพรจันทน์ชะมด
-
ชะมดเชียง
-
สมุนไพรชะมดต้น
-
ควาย
-
น้ำมันขนแกะ
-
โกษฐ์สิงคี
-
เขาสัตว์อื่นที่ใช้แทนเขากุยได้
-
กุย
-
เขากวางอ่อน
-
โหรามิคสิงคี
-
กวาง
-
สัตว์ชั้นเลี้ยงลูกด้วยนม
-
รังนกอีแอ่น
-
อีแอ่น
-
อีแอ่นกินรัง
-
พญาแร้ง
-
อีแก
-
อีกากับนกกาเหว่า
-
อีกา
-
นกยูง
-
นกกะลิง
-
นกกวัก
-
นกกระจอก
-
ไก่ป่า
-
ไก่บ้าน
-
ชั้นสัตว์ปีก
-
กระดองเต่าเหลือง
-
เต่านา
-
วงศ์เต่าบก
-
วงศ์เต่าน้ำจืด
-
เต่าในประเทศไทย
-
กระดองตะพาบจีน
-
ตะพาบน้ำ
-
จระเข้
-
งูเห่า
-
งูเหลือม
-
จงโคร่ง
-
คางคก
-
ปลาร้า
-
ปลาดุก
-
ปลาช่อน
-
หูฉลาม
-
หมวดคอร์ดาตา
-
แมงมุม
-
ปูทะเล
-
กุ้ง
-
หมาร่า
-
แมลงสาบ
-
มดลี่
-
มดแดง
-
สมุนไพรแสมสาร
-
สมุนไพรเพกา
-
สมุนไพรเจตมูลเพลิงขาว
-
สมุนไพรคำฝอย
-
สมุนไพรกะทือ
-
สมุนไพรกำลังกระบือ
-
สมุนไพรขับประจำเดือน
-
สมุนไพรเสลดพังพอน
-
สมุนไพรเลี่ยน
-
สมุนไพรลิ้นงูเห่า
-
สมุนไพรพิลังกาสา
-
สมุนไพรใบระนาด
-
สมุนไพรเทียนดอก
-
แก้โรคผิวหนัง
-
สมุนไพรเขือง
-
สมุนไพรกะตังใบ
-
สมุนไพรต้นเอียน
-
สมุนไพรฟันปลา
-
สมุนไพรกะทัง
-
สมุนไพรหมีเหม็น
-
สมุนไพรเทพทาโร
-
สมุนไพรเชียด
-
สมุนไพรอบเชยจีน
-
สมุนไพรอบเชยญวณ
-
สมุนไพรสาบแร้งสาบกา
-
สมุนไพรฤาษีผสมแล้ว
-
สมุนไพรงาขี้ม้อน
-
สมุนไพรโหระพา
-
สมุนไพรแมงกะแซง
-
สมุนไพรผักฮ้าน
-
สมุนไพรสะระแหน่ญี่ปุ่น
-
สมุนไพรหญ้านกเค้า
-
สมุนไพรกัญชาเทศ
-
สมุนไพรฉัตรพระอินทร์
-
สมุนไพรแมงลักคา
-
สมุนไพรว่านหอมแดง
-
สมุนไพรว่านหางช้าง
-
สมุนไพรก้านเหลือง
-
สมุนไพรปอผี
-
สมุนไพรฮอมคำ
-
สมุนไพรโพกริ่ง
-
สมุนไพรบุนนาค
-
สมุนไพรพะวาใบใหญ่
-
มะดัน
-
มังคุด
-
สมุนไพรชะมวง
-
สมุนไพรติ้วตำ
-
สมุนไพรติ้วขน
-
สมุนไพรตังหน
-
สมุนไพรกระทิง
-
ข้าวโพด
-
สมุนไพรหญ้าไม้กวาด
-
สมุนไพรหญ้าพง
-
สมุนไพรข้าวฟ่าง
-
สมุนไพรแขม
-
สมุนไพรอ้อเล็ก
-
สมุนไพรหญ้าไข่เหา
-
สมุนไพรหญ้าชันกาด
-
สมุนไพรหญ้าตีนกา
-
สมุนไพรตะไคร้หอม
-
เดือย
-
สมุนไพรหญ้าเจ้าชู้
-
สมุนไพรอ้อ
-
สมุนไพรรักทะเล
-
สมุนไพรเมื่อย
-
สมุนไพรมะม่วย
-
สมุนไพรแปะก๊วย
-
สมุนไพรหวายลิง
-
สมุนไพรกระเบากลัก
-
สมุนไพรกระเบาใหญ่
-
สมุนไพรขานาง
-
สมุนไพรตะขบควาย
-
สมุนไพรตะขบป่า
-
สมุนไพรมะเยา
-
สมุนไพรโลดทะนง
-
สมุนไพรไม้เท้ายายม่อม
-
สมุนไพรมะฝ่อ
-
สมุนไพรปอกะปลา
-
สมุนไพรขันทองพยาบาท
-
สมุนไพรผักหวานบ้าน
-
สมุนไพรสมอทะเล
-
สมุนไพรละหุ่ง
-
สมุนไพรหญ้าใต้ใบ
-
สมุนไพรก้างปลาเครือ
-
สมุนไพรว่านธรณีสาร
-
สมุนไพรยายถีบหลาน
-
สมุนไพรมะขามป้อม
-
สมุนไพรผักหวานดง
-
สมุนไพรลูกใต้ใบ
-
มะยม
-
สมุนไพรแสยก
-
สมุนไพรมันสำปะหลัง
-
สมุนไพรคำป่า
-
สมุนไพรสอยดาว
-
สมุนไพรเปล้าใหญ่
-
สมุนไพรปริก
-
สมุนไพรตองเต๊า
-
สมุนไพรหล่อง่าม
-
สมุนไพรเม็ก
-
สมุนไพรมะหัง
-
สมุนไพรเต้าหลวง
-
สมุนไพรมะละกอฝรั่ง
-
สมุนไพรสบู่แดง
-
สมุนไพรสบู่ดำ
-
สมุนไพรทองหลางฝรั่ง
-
สมุนไพรไคร้น้ำ
-
สมุนไพรครำ
-
สมุนไพรตาตุ่มป่า
-
สมุนไพรกำลังกระบือ
-
สมุนไพรตาตุ่มทะเล
-
สมุนไพรคริสต์มาส
-
สมุนไพรส้มเช้า
-
สมุนไพรจิดอยด่วน
-
สมุนไพรน้ำนมราชสีห์ทะเล
-
สมุนไพรเปล้าน้ำเงิน
-
สมุนไพรโกสน
-
สมุนไพรดีหมี
-
สมุนไพรประคำไก่
-
สมุนไพรสลอด
-
สมุนไพรกระดอหดใบขน
-
สมุนไพรมะกาเครือ
-
สมุนไพรเต็งหนาม
-
สมุนไพรระงับพิษ
-
มะไฟ
-
มะไฟฝรั่ง
-
สมุนไพรเหมือนโลด
-
สมุนไพรโพธิสัตว์
-
สมุนไพรขางปอย
-
สมุนไพรชาข่อย
-
สมุนไพรไกรทอง
-
สมุนไพรหญ้าผมหงอก
-
สมุนไพรเม้าแดง
-
สมุนไพรหญ้าถอดปล้อง
-
ตะขบฝรั่ง
-
มะกอกน้ำ
-
สลอดเถา
-
สมุนไพรข่อยจีน
-
สมุนไพรหญ้าตีนตุ๊กแก
-
สมุนไพรพญารากดำ
-
สมุนไพรมะเกลือป่า
-
ตะโกสวน
-
พลับจีน
-
ตะโกจัน
-
มะพลับดง
-
สมุนไพรจัน
-
สมุนไพรตะโกพนม
-
สมุนไพรสั่งทำ
-
มะพลับ
-
สมุนไพรหญ้าน้ำค้าง
-
สมุนไพรจอกบ่วาย
-
สมุนไพรพะยอม
-
สมุนไพรเต็ง
-
สมุนไพรตะเคียนทอง
-
สมุนไพรตะเคียนหิน
-
มันคันขาว
-
กลอย
-
มันมือเสือ
-
มันขมิ้น
-
มันเสา
-
สมุนไพรส้านใบเล็ก
-
สมุนไพรรสสุคนธ์
-
สมุนไพรรสสุคนธ์แดง
-
แห้วไทย
-
สมุนไพรกก
-
สมุนไพรกกลังกา
-
สมุนไพรปรงทะเล
-
สมุนไพรปรงญี่ปุ่น
-
สมุนไพรปรงเขา
-
สมุนไพรปรง
-
สมุนไพรบวบขม
-
สมุนไพรบวบงู
-
สมุนไพรตำลึงตัวผู้
-
สมุนไพรแตงหนู
-
สมุนไพรฟักข้าว
-
สมุนไพรมะระ
-
สมุนไพรบวมหอม
-
สมุนไพรบวมเหลี่ยม
-
สมุนไพรน้ำเต้า
-
สมุนไพรสะระแหน่
-
สมุนไพรยี่หร่า
-
สมุนไพรพลู
-
สมุนไพรขี้กาแดง
-
สมุนไพรกะดอม
-
แตงกวา
-
แตงไทย
-
ฟักทองข้าวเจ้า
-
ฟักทอง
-
ผักตำลึง
-
แตงโม
-
ฟัก
-
สมุนไพรผักบุ้งทะเล
-
สมุนไพรว่านผักบุ้ง
-
มันเทศ
-
สมุนไพรผักบุ้ง
-
สมุนไพรใบต่อก้าน
-
สมุนไพรผักบุ้งรั้ว
-
สมุนไพรใบระบาด
-
สมุนไพรเครือพูเงิน
-
สมุนไพรมะขามเครือ
-
สมุนไพรถอบแถบเครือ
-
สมุนไพรถอบแถบ
-
สมุนไพรกระชับ
-
สมุนไพรกะเม็งตัวผู้
-
สมุนไพรผักคราดทะเล
-
สมุนไพรตานหม่อน
-
สมุนไพรหญ้าละออง
-
สมุนไพรกะพวมมะพร้าว
-
สมุนไพรดาวเรืองใหญ่
-
สมุนไพรผักแครด
-
สมุนไพรผักคราด
-
สมุนไพรหญ้าค้อนกลาง
-
สมุนไพรสะพ้านก้น
-
สมุนไพรขลู่
-
สมุนไพรขี้ไก่ย่าน
-
ผักกาดหอม
-
ตะไคร้สมุนไพร
-
สมุนไพรช้าพลู
-
สมุนไพรกะเพรา
-
สมุนไพรหญ้าหนวดแมว
-
สมุนไพรมะเขือขื่น
-
สมุนไพรพลูคาว
-
กาแฟ
-
ดอกกระดาด
-
ทานตะวัน
-
สมุนไพรผักกาบกด
-
สมุนไพรประคำดีควาย
-
สมุนไพรพญามุตติ
-
สมุนไพรสันพร้าหอม
-
สมุนไพรสาบเสือ
-
สมุนไพรผักบุ้งร่วม
-
สมุนไพรหางปลาช่อน
-
สมุนไพรโด่ไม่รู้ล้ม
-
สมุนไพรกะเม็ง
-
สมุนไพรผักชีดอย
-
สมุนไพรรักเร่
-
สมุนไพรแอหนัง
-
สมุนไพรเบญจมาศ
-
สมุนไพรเบญจมาศสวน
-
สมุนไพรผักตังโอ๋
-
สมุนไพรกระต่ายจันทร์
-
สมุนไพรคำฝอย
-
สมุนไพรผลาญศัตรู
-
สมุนไพรแอ๊สเตอร์
-
สมุนไพรดาวเรืองฝรั่ง
-
สมุนไพรหนาดวัว
-
สมุนไพรหนาดใหญ่
-
สมุนไพรปืนนกไส้
-
สมุนไพรก้นจ้ำ
-
สมุนไพรดาวกระจาย
-
สมุนไพรโกฐจุฬาลัมพา
-
สมุนไพรสาบแร้งสาบกา
-
สมุนไพรเยี่ยวหมู
-
สมุนไพรก้ามปูหลุด
-
สมุนไพรว่านหอยแครง
-
สมุนไพรเอื้องหิน
-
สมุนไพรกินกุ้งน้อย
-
สมุนไพรแห้วกระต่าย
-
สมุนไพรผักปลาบช้าง
-
สมุนไพรผักปลาบ
-
สมุนไพรขี้อ้าย
-
สมุนไพรตะแบกเลือด
-
สมุนไพรสมอไทย
-
สมุนไพรหูกวาง
-
สมุนไพรสกุณี
-
สมุนไพรสมอพิเภก
-
สมุนไพรรกฟ้า
-
สมุนไพรเล็บมือนาง
-
สมุนไพรฝาดขาว
-
สมุนไพรฝาดแดง
-
สมุนไพรคดสัง
-
สมุนไพรสะแกนา
-
สมุนไพรข้าวตอกแตก
-
สมุนไพรกระดูกไก่
-
สมุนไพรป๋วยเล้ง
-
สมุนไพรผักกาดแดง
-
สมุนไพรมะดูก
-
สมุนไพรกระทงลาย
-
สมุนไพรหญ้าพระโค
-
สมุนไพรสร้อยทองทราย
-
สมุนไพรแก้วลืมวาง
-
มะละกอ
-
สมุนไพรสายน้ำผึ้ง
-
สมุนไพรแจง
-
สมุนไพรกุ่มบก
-
สมุนไพรกุ่มน้ำ
-
สมุนไพรผักเสี้ยนผี
-
สมุนไพรผักเสี้ยน
-
สมุนไพรสะแอะ
-
สมุนไพรพุงแก
-
สมุนไพรหนามเกี่ยวไก่
-
สมุนไพรหนามหางนกกระลิง
-
สมุนไพรชิงชี่
-
สมุนไพรกระจิก
-
สมุนไพรพุทธรักษา
-
สมุนไพรกัญชา
-
สมุนไพรปีบฝรั่ง
-
สมุนไพรหนามเสมา
-
สมุนไพรเสมา
-
สมุนไพรนาคราช
-
มะแฟน
-
สมุนไพรตะคร้ำ
-
มะกอกเกลื้อน
-
มะกอกฟาน
-
สมุนไพรสมอจีน
-
ราชาวดีป่า
-
ผึ้ง
-
ปลวก
-
ชันโรง
-
ครั่ง
-
ไข่มุก
-
หอยมุก
-
หอยมือเสือ
-
หอยพิมพการัง
-
หอยแครง
-
ประเภทผล
-
ประเภทดอก
-
ประเภทใบ
-
ประเภทเนื้อไม้
-
ประเภทเปลือกไม้
-
ประเภทเถา
-
ประเภทหัวหรือเหง้า
-
ประเภทราก
-
ปัจจัยที่มีผลต่อคุณภาพของสมุนไพร
-
การทำสมุนไพรแห้ง
-
การเก็บสมุนไพร
-
สมุนไพรยางสลัดได
-
สมุนไพรว่านหางจระเข้
-
สมุนไพรยาดำ
-
สมุนไพรฝิ่น
-
สมุนไพรยางพลวง
-
สมุนไพรสมอพิเภก
-
สมุนไพรสมอดีงู
-
สมุนไพรโมกหลวง
-
สมุนไพรมะตูม
-
สมุนไพรน้ำมันยาง
-
สมุนไพรกำยาน
-
สมุนไพรมหาหิงคุ์
-
สมุนไพรมดยอบ
-
สมุนไพรสนสามใบ
-
น้ำมันมะกอก
-
น้ำมันมะพร้าว
-
น้ำมันละหุ่ง
-
น้ำมันงา
-
น้ำมันระเหยยาก
-
การะบูร
-
พิมเสนหนาด
-
พิมเสน
-
น้ำมันพิมเสน
-
น้ำมันระเหยง่าย
-
พรรณผักกาด
-
สมุนไพรลูกจันทน์ -ดอกจันทน์
-
สับปะรด
-
สมุนไพรผักแผ้วขาว
-
สมุนไพรเหลียง
-
สมุนไพรหญ้างวงช้าง
-
ทุเรียน
-
นุ่น
-
งิ้ว
-
สมุนไพรคำแสด
-
สมุนไพรแคหิน
-
สมุนไพรแคยอดดำ
-
สมุนไพรแคแสด
-
สมุนไพรเพกา
-
สมุนไพรปีป
-
สมุนไพรแคทะเล
-
สมุนไพรก่อสร้อย
-
สมุนไพรส้มกุ้ง
-
ผักปลัง
-
สมุนไพรกระโดน
-
สมุนไพรจิกนม
-
สมุนไพรจิกเล
-
สมุนไพรจิกน้ำ
-
สมุนไพรเทียนดอก
-
ตะลิงปลิง
-
มะเฟือง
-
เห็ดหูหนู
-
สมุนไพรพญาไร้ใบ
-
สมุนไพรข้าวสารดอกใหญ่
-
สมุนไพรข้าวสารดอกเล็ก
-
สมุนไพรจมูกปลาหลด
-
สมุนไพรครามเถา
-
สมุนไพรกล้วยไม้พันงู
-
สมุนไพรนมตำเลีย
-
สมุนไพรลิ้นควาย
-
สมุนไพรนมเมีย
-
สมุนไพรกระทุงหมาบ้า
-
สมุนไพรโกศพุงปลา
-
สมุนไพรปอบิด
-
สมุนไพรขมิ้นเครือ
-
สมุนไพรเกล็ดมังกร
-
สมุนไพรเกล็ดนาคราช
-
สมุนไพรดอกรัก
-
สมุนไพรอบเชยเถา
-
สมุนไพรเทียนแดง
-
สมุนไพรกระเช้าฝีมด
-
สมุนไพรกระเช้าสีดา
-
สมุนไพรหนุมานประสานกาย
-
สมุนไพรครุฑตีนตะพาบน้ำ
-
สมุนไพรครุฑทอดมัน
-
สมุนไพรโสมจีน
-
สมุนไพรกระจับเขา
-
สมุนไพรผักแปม
-
สมุนไพรอุตพิต
-
สมุนไพรบอนแบ้ว
-
สมุนไพรพลูช้าง
-
สมุนไพรหวายตะมอย
-
สมุนไพรจอก
-
สมุนไพรผักหนาม
-
สมุนไพรเสน่ห์จันทน์แดง
-
สมุนไพรบอนส้ม
-
สมุนไพรเต่าเกียด
-
สมุนไพรว่านเขียวหมื่นปี
-
สมุนไพรว่านสิงหโมรา
-
สมุนไพรกระดาดขาว
-
เผือก
-
บุก
-
สมุนไพรกระดาดดำ
-
เผือกกะลา
-
สมุนไพรพรมตีนสูง
-
สมุนไพรเถามวกขาว
-
สมุนไพรโมกมัน
-
สมุนไพรโมกบ้าน
-
สมุนไพรโมก
-
สมุนไพรคุย
-
สมุนไพรชำมะนาดป่า
-
สมุนไพรยี่โถฝรั่ง
-
สมุนไพรระย่อม
-
สมุนไพรชะย่อมหลวง
-
สมุนไพรลั่นทมแดง
-
สมุนไพรลั่นทมขาว
-
ลั่นทมสมุนไพร
-
สมุนไพรยี่โถ
-
สมุนไพรโมกใหญ่
-
สมุนไพรพริกป่าใหญ่
-
สมุนไพรพุดซ้อน
-
สมุนไพรตีนเป็ดน้ำ
-
สมุนไพรตีนเป็ดทราย
-
สมุนไพรแพงพวยฝรั่ง
-
สมุนไพรหนามพรม
-
สมุนไพรหนามแดง
-
สมุนไพรหิรัญญิการ์
-
สมุนไพรยางน่องเถา
-
สมุนไพรชะลูด
-
สมุนไพรนูดพระ
-
สมุนไพรสัตตบรรณ
-
สมุนไพรทุ้งฟ้า
-
สมุนไพรบานบุรีเหลือง
-
สมุนไพรโมกเครือ
-
สมุนไพรนมควาย
-
สมุนไพรกะเจียน
-
สมุนไพรลำดวน
-
สมุนไพรกระดังงาไทย
-
สมุนไพรสะแกแสง
-
น้อยหน่า
-
น้อยโหน่ง
-
ทุเรียนเทศ
-
สมุนไพรกำลังวัวเถลิง
-
สมุนไพรค้อนหมาแดง
-
มะกอก
-
สมุนไพรรักใหญ่
-
สมุนไพรมะม่วง
-
สมุนไพรอ้อยช้าง
-
มะปราง
-
มะม่วงหิมพานต์
-
สมุนไพรพลับพลึงดอกแดง
-
สมุนไพรพลับพลึง
-
สมุนไพรบานไม่รู้โรย
-
สมุนไพรหญ้าพันงูแดง
-
สมุนไพรหงอนไก่ไทย
-
สมุนไพรว่านแร้งคอคำ
-
สมุนไพรผักโขมหนาม
-
สมุนไพรผักโขม
-
สมุนไพรผักเป็ด
-
สมุนไพรหญ้าพันงูขาว
-
สมุนไพรกระเทียม
-
สมุนไพรหอมไทย
-
สมุนไพรปรู
-
สมุนไพรผักเบี้ย
-
สมุนไพรผักโขมหิน
-
สมุนไพรหญ้าไข่เหา
-
สมุนไพรสะเดาดิน
-
สมุนไพรรางจืด
-
สมุนไพรเนียม
-
สมุนไพรทองพันชั่ง
-
สมุนไพรต้อยติ่งไทย
-
สมุนไพรดาดตะกั่ว
-
สมุนไพรใบเงิน ใบทอง ใบนาก
-
สมุนไพรกระดูกไก่ดำ
-
สมุนไพรพญาปล้องทอง
-
สมุนไพรสังกรณี
-
สมุนไพรอังกาบหนู
-
เสลดพังพอน
-
สมุนไพรอังกาบ
-
สมุนไพรตำลึงหวาน
-
สมุนไพรฟ้าทะลายโจร
-
สมุนไพรเสนียด
-
สมุนไพรเหงือกปลาหมอเครือ
-
สมุนไพรฝักราชพฤกษ์
-
สมุนไพรผลราชดัด
-
สมุนไพรเทียนตาตั๊กแตน
-
สมุนไพรดีปลี
-
สมุนไพรกระวาน
-
สัณฐานของผล
-
สมุนไพรกลีบจำปา
-
สมุนไพรดอกสารภี
-
สมุนไพรกานพลู
-
สัณฐานของดอก
-
ใบโคคา:คุณอนันต์ โทษมหันต์
-
สมุนไพรใบผักบุ้งขัน
-
สมุนไพรใบเปล้าน้อย
-
สมุนไพรใบตองแตก
-
สมุนไพรใบชาแป้น
-
ใบของต้นคนที
-
สัณฐานของใบ
-
สมุนไพรจันทร์แดง
-
สมุนไพรกฤษณา
-
สมุนไพรแก่นฝาง
-
สมุนไพรแก่นจันทน์
-
ยาจากแก่น
-
สมุนไพรอบเชยเทศ
-
สมุนไพรอบเชย
-
สมุนไพรเปลือกรกฟ้า
-
เครื่องยาจากเปลือกต้น
-
หอมแดง
-
สมุนไพรว่านน้ำ
-
สมุนไพรขมิ้นอ้อย
-
สมุนไพรขมิ้นชัน
-
ประโยชน์ทางยาเปลือกหอยขม
-
หอยขม
-
ประโยชน์ทางยาของสังข์
-
สังข์
-
หอยเม็ดขนุน (หอยกระดุม)
-
ประโยชน์ทางยาของเบี้ย
-
ประโยชน์ทางยาของเบี้ย
-
เบี้ย
-
ชั้นหอยกาบเดี่ยว
-
เนาวหอย
-
บทที่ ๒ หมวดมอลลัสกา
-
ปลิงทะเล
-
แผนปลิงคว่ำ – แผนปลิงหงาย
-
ประโยชน์ทางยาของปลิง
-
ชีววิทยาของปลิง
-
ปลิง
-
ประโยชน์ทางยาของไส้เดือน
-
ชีววิทยาของไส้เดือนดิน
-
บทที่ ๑ หมวดแอนเนลิดา
-
เครื่องยาสัตววัตถุ
-
ชื่อวิทยาศาสตร์ของสัตว์
-
ลำดับการจัดหมวดหมู่ของ
-
อาณาจักรสัตว์
-
การจัดหมวดหมู่ของสิ่งมีชีวิต
-
สัตวชาติในภูมิปัญญาไทย
-
บทนำ
-
เครื่องยาจากลำต้นใต้ดิน
-
ลำต้นสัณฐานของลำต้น
-
สมุนไพรรากเจตมูลเพลิง
-
สมุนไพรยิงโสม
-
สมุนไพรรากดองดึง
-
เครื่องยาจากราก
-
สัณฐานของราก
-
ถิ่นที่อยู่ของพืช
-
สัณฐานวิทยาของพืชสมุนไพร
-
สรรพคุณเภสัช
-
ข้อพึงรู้เกี่ยวกับเครื่องยา
-
ความหมายของสมุนไพร
-
เครื่องยาพฤกษวัตถุ
-
สุรา
-
น้ำอัษฎางคุลี
-
น้ำส้มสายชู
-
น้ำส้มซ่า
-
น้ำร้อน
-
น้ำมูตรโคดำ
-
น้ำมะนาว
-
น้ำมะงั่ว
-
น้ำมวกเขา
-
น้ำผึ้งและน้ำผึ้งรวง
-
น้ำใบผักไห่
-
น้ำใบชา
-
น้ำใบกล้วยตีบ
-
น้ำนม
-
น้ำดอกไม้เทศ
-
น้ำดอกไม้
-
น้ำซาวข้าว
-
น้ำชะเอม
-
สมุนไพรจันทน์ขาว
-
น้ำขิง
-
น้ำกระเทียม
-
ขัณฑสกร
-
น้ำกระสายยาที่ใช้ในตำราพระโอสถพระนารายณ์
-
ตำราพระโอสรพระนารายณ์
-
สมุนไพรญ่าฝรั่น
-
น้ำมันหอม
-
สัตตเขา เนาวเขี้ยว
-
การเตรียมน้ำกระสายยา
-
สมุนไพรแมงลัก
-
สมุนไพรมะเกลือ
-
ทับทิม
-
ยาเหลืองปิดสมุทร
-
สมุนไพรชุมเห็ดเทศ
-
ยาธาตุบรรจบ
-
สมุนไพรชะเอมไทย
-
ความนำเรื่องน้ำกระสายยา
-
สมุนไพรกระชายดำ
-
-
สมัครรับข่าวสาร
อีแอ่น
อีแอ่น
อีแอ่นเป็นชื่อไทยแท้ของนก ๒ วงศ์
(ปัจจุบันคนไทยเห็นว่าชื่อ “อีแอ่น” ไม่สุภาพหรือไม่เพราะ จึงเปลี่ยนเป็นชื่อ“นางแอ่น” หรือ“นกแอ่น” เช่นเดียวกับ“อีกา” เป็น “นกกา” หรือ “อีแร้ง” เป็น “นกแร้ง”) คือ วงศ์ Apodidae (อันดับ Apodiformes) กับวงศ์ Hirundinidae (อันดับ Passeriformes)
อีแอ่นกินรังเป็นนกในวงศ์ Apodidae ส่วนนกในวงศ์ Hirundinidae หลายชนิดเรียก “อีแอ่น” เช่นกัน แต่นกที่จัดอยู่ในวงศ์หลังนี้ทำรังด้วยดิน ไม่มีน้ำลายเป็นตัวเชื่อมอยู่อย่างใด รวมทั้งนกตาพอง (Pseudochelidon sirintarae Thonglongya) ที่มีผู้ตั้งชื่อให้ใหม่เป็นนกเจ้าฟ้าหญิงสิรินธร อันเป็นนกถิ่นเดียวของไทย พบที่บึงบอระเพ็ด จังหวัดนครสวรรค์ ปัจจุบันเป็นนกหายากและมีจำนวนน้อยหรืออาจจะสูญพันธุ์ไปแล้วก็ได้
อีแอ่นหิมาลัย มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Colocalia brevirostris (Horsfield) มีชื่อสามัญว่า Himalayan swiftlet ชนิดนี้ทำรังด้วยหญ้าและพืชชนิดต่างๆ มีน้ำลายเป็นตัวเชื่อมเพียงเล็กน้อย อีแอ่น ๒ ชนิดแรก คือ อีแอ่นกินรังกับอีแอ่นกินรังตะโพกขาว ทำรังด้วยน้ำลายล้วนๆ จึงเป็นรังนกที่มีคุณภาพดีเยี่ยม เป็นที่รู้จักกันมานานและเป็นที่ต้องการของตลาด มีราคาแพงมาก ส่วนรังของอีแอ่นชนิดอื่นในสกุลเดียวกันนี้ไม่เป็นที่นิยมของตลาด โดยเฉพาะ ๒ ชนิดหลัง คือ อีแอ่นท้องขาวและอีแอ่นหิมาลัย
อีแอ่นกินรังเป็นนกที่อาศัยอยู่ในถ้ำหินปูนหรือถ้ำหินทรายตามเกาะต่างๆ ตามทะเลหรือตามชายฝั่งต่างๆ หรืออาจพักพิงอยู่ตามสิ่งก่อสร้างต่างๆ เช่น ตึก โบสถ์ และบินออกจากถิ่นในช่วงเช้ามืด ไปหากินตามแหล่งน้ำในหุบเขาหรือตามป่า โดยบินไม่หยุดตลอดทั้งวัน ห่อนกลับมายังถิ่นที่อยู่ในตอนเย็นหรือค่ำ นกพวกนี้สามารถบินโดยใช้เสียงสะท้อนกลับ (echolocation) จึงไม่ชนกับสิ่งกีดขวางใดๆ ทั้งๆที่ถิ่นที่อยู่มืดสนิท ราวร้อยละ ๘๐ ของอาหารเป็นแมลง โดยเฉพาะมดมีปีก ในช่วงฤดูฝนนั้น อาหารของนกพวกนี้เป็นนกเกือบทั้งหมด อีแอ่นกินรังที่อำเภอปากพนัง จังหวัดนครศรีธรรมราชข้อมูลต่อไปนี้เป็นผลงานของการวิจัยของรองศาสตราจารย์โอภาส ขอบเขตต์ ราชบัณฑิต ผู้เชี่ยวชาญเรื่องนก ซึ่งได้รายงานต่อที่ประชุมราชบัณฑิต สำนักวิทยาศาสตร์ แห่งราชบัณฑิตยสถาน เมื่อวันที่ ๗ พฤศจิกายน พ.ศ.๒๕๔๔ ในหัวข้อเรื่อง “อีแอ่นกินรังในอำเภอปากพนัง จังหวัดนครศรีธรรมราช” ก่อนที่ท่านจะถึงแก่กรรมเพียง ๕ เดือนเศษ
อีแอ่นกินรังในอำเภอปากพนัง จังหวัดนครศรีธรรมราช เป็นชนิด Colocalia fuciphaga (Gmelin) หรือ eible – nest swiftlet ในราว ๕๐ ปีที่ผ่านมา อีแอ่นกินรังได้เข้ามาอาศัยและทำรังในบ้านหลังหนึ่ง ซึ่งชาวบ้านเรียก “บ้านร้อยปี” โดยเริ่มเข้ามาพักพิงที่ชั้น ๓ อันเป็นชั้นบนสุด เจ้าของบ้านจึงย้ายมาอยู่ที่ชั้น ๒ ต่อมาจำนวนนกมีจำนวนมากจนรุกพื้นที่ชั้น ๒ เจ้าของบ้านจึงย้ายมาอยู่ที่ชั้น ๑ ซึ่งเป็นร้านค้า แต่ปัจจุบันบ้านหลังนี้มีนกอยู่เต็มทั้ง ๓ ชั้น โดยเจ้าของบ้านปิดกิจการและย้ายไปอยู่ที่อื่น แต่กลับมาเก็บรังนกทุกเดือน โดยเฉลี่ยได้รังนกราวเดือนละ ๖ กิโลกรัม (มูลค่ากิโลกรัมละ ๕๐๐๐๐-๗๐๐๐๐ บาท) ในช่วงนั้นอีแอ่นกินรังไปอาศัยอยู่บริเวณโบสถ์ของวัดซึ่งอยู่ฝั่งตรงข้ามของแม่น้ำ โดยที่เดิมที่ทางวัดมิได้เก็บรัง แต่ปัจจุบันคณะกรรมการวัดก็เก็บรังนกขายเช่นเดียวกับบ้านร้อยปี โดยได้รังนกเฉลี่ยราวเดือนละ ๒ กิโลกรัม
ในช่วง ๕ ปีที่ผ่านมา อีแอ่นกินรังบริเวณตลาดอำเภอปากพนังได้เพิ่มจำนวนขึ้น จนกระทั่งเข้าไปอยู่ในตึกสูงๆหลายตึกทางฝั่งด้านตะวันออก(ฝั่งบ้านร้อยปี) ส่วนฝั่งด้านตะวันตก(ฝั่งวัด) ก็มีบ้าง แต่น้อยกว่ามาก ปัจจุบันมีการก่อสร้างตึกสูง๑๐ชั้น มากกว่า ๑๐ ตึก แต่ละตึกใช้เงินลงทุนไม่น้อยกว่า ๕ ล้านบาท โดยหวังให้อีแอ่นเข้าไปอาศัยทำรัง รวมแล้วมีตึกที่สร้างขึ้น โดยหวังว่าอีแอ่นกินรังจะเข้าไปทำรังไม่น้อยกว่า ๕๐ ตึก แต่อีแอ่นก็ไม่ได้เข้าไปอาศัยทำรังทุกตึก
ทำไมอีแอ่นจึงเลือกตึกใดตึกหนึ่งเพื่อทำรัง คำตอบนี้ยังมิหาคำตอบได้แต่จากการศึกษาพบว่า อีแอ่นจะเข้าไปทำรังในตึกสูงตั้งแต่ ๑-๗ ชั้น อาคารส่วนใหญ่มักมีสีเหลืองไข่ไก่ แต่ลางอาคารที่ยังสร้างไม่เสร็จแล้ว ยังเป็นสีอิฐ ก็มีนกเข้าไปอาศัยและทำรัง ส่วนทิศทางการเข้าออกของอีแอ่นนั้น พบว่ามีเกือบทุกทิศทาง ไม่แน่นอน แต่ทางเข้าออกของนกโดยส่วนมากเป็นทิศใต้ค่อนไปทางทิศตะวันตก
อย่างไรก็ตาม อุณหภูมิและความชื้นภายใต้อาคารน่าจะเป็นปัจจัยสำคัญที่สุดที่นกเลือกอาศัยและทำรัง พบว่าอาคารที่นกอาศัยจะอยู่ระหว่าง ๒๖- ๒๙ องศาเซลเซียส และความชื้นสัมพัทธ์ไม่ต่ำกว่าร้อยละ ๗๕ (อยู่ร้อยละ ๗๙-๘๐ ) ผนังอาคารต้องไม่น้อยกว่า ๓๐ เซนติเมตร ภายในมีอ่างน้ำโดยรอบหรือเกือบรอบ ไม่มีหน้าต่าง แต่มีช่องลมให้นกเข้าออกอย่างน้อย ๒ ช่อง ซึ่งอุณหภูมิและความชื้นสัมพัทธ์ในอาคารเหล่านี้ใกล้เคียงกับถ้ำธรรมชาติที่นกชนิดนี้ใช้เป็นที่อาศัยและทำรัง ในการเก็บรังนกนั้น เจ้าของบ้านเก็บก่อนที่นกจะวางไข่ คือราว ๓๐ วัน หลังจากนกเริ่มทำรัง และเก็บทุกๆเดือน แต่ถ้าเป็นรังที่นกวางไข่แล้ว ก็จะปล่อยให้นกวางไข่ต่อไปจนครบ ๒ ฟอง แล้วปล่อยให้ไข่ฟัก และเลี้ยงลูกอ่อนจนลูกบินได้จึงจะเก็บรัง
รูปภาพจาก:oknation.nationtv.tv,thathong.com,