-
-
พิกัดโกษฐ์
-
พิกัดเกสร
-
คณาเภสัช
-
ชื่อพฤกษศาสตร์ของต้นพืชคืออะไร?
-
อนุกรมวิธานพืชกับชื่อพฤกษศาสตร์ของพืช
-
ประเภทผลิตผลจากพืช
-
เครื่องปรุง(คณาเภสัช)
-
ประเภทส่วนต่างๆของพืชชนิดเดียวกันใช้ร่วมกันส่วนต่างๆของพืชชนิดเดียวกัน
-
ประเภทเมล็ด
-
หมูหริ่ง
-
หมูป่า
-
หมีที่พบในประเทศไทย
-
เสือโคร่ง
-
โคโรค
-
วัว
-
เลียงผา
-
ลิ่น
-
แรด
-
เม่น
-
แพะ
-
อำพัน
-
ลำพันแดง
-
ปลาพะยูน
-
ช้าง
-
สมุนไพรจันทน์ชะมด
-
ชะมดเชียง
-
สมุนไพรชะมดต้น
-
ควาย
-
น้ำมันขนแกะ
-
โกษฐ์สิงคี
-
เขาสัตว์อื่นที่ใช้แทนเขากุยได้
-
กุย
-
เขากวางอ่อน
-
โหรามิคสิงคี
-
กวาง
-
สัตว์ชั้นเลี้ยงลูกด้วยนม
-
รังนกอีแอ่น
-
อีแอ่น
-
อีแอ่นกินรัง
-
พญาแร้ง
-
อีแก
-
อีกากับนกกาเหว่า
-
อีกา
-
นกยูง
-
นกกะลิง
-
นกกวัก
-
นกกระจอก
-
ไก่ป่า
-
ไก่บ้าน
-
ชั้นสัตว์ปีก
-
กระดองเต่าเหลือง
-
เต่านา
-
วงศ์เต่าบก
-
วงศ์เต่าน้ำจืด
-
เต่าในประเทศไทย
-
กระดองตะพาบจีน
-
ตะพาบน้ำ
-
จระเข้
-
งูเห่า
-
งูเหลือม
-
จงโคร่ง
-
คางคก
-
ปลาร้า
-
ปลาดุก
-
ปลาช่อน
-
หูฉลาม
-
หมวดคอร์ดาตา
-
แมงมุม
-
ปูทะเล
-
กุ้ง
-
หมาร่า
-
แมลงสาบ
-
มดลี่
-
มดแดง
-
สมุนไพรแสมสาร
-
สมุนไพรเพกา
-
สมุนไพรเจตมูลเพลิงขาว
-
สมุนไพรคำฝอย
-
สมุนไพรกะทือ
-
สมุนไพรกำลังกระบือ
-
สมุนไพรขับประจำเดือน
-
สมุนไพรเสลดพังพอน
-
สมุนไพรเลี่ยน
-
สมุนไพรลิ้นงูเห่า
-
สมุนไพรพิลังกาสา
-
สมุนไพรใบระนาด
-
สมุนไพรเทียนดอก
-
แก้โรคผิวหนัง
-
สมุนไพรเขือง
-
สมุนไพรกะตังใบ
-
สมุนไพรต้นเอียน
-
สมุนไพรฟันปลา
-
สมุนไพรกะทัง
-
สมุนไพรหมีเหม็น
-
สมุนไพรเทพทาโร
-
สมุนไพรเชียด
-
สมุนไพรอบเชยจีน
-
สมุนไพรอบเชยญวณ
-
สมุนไพรสาบแร้งสาบกา
-
สมุนไพรฤาษีผสมแล้ว
-
สมุนไพรงาขี้ม้อน
-
สมุนไพรโหระพา
-
สมุนไพรแมงกะแซง
-
สมุนไพรผักฮ้าน
-
สมุนไพรสะระแหน่ญี่ปุ่น
-
สมุนไพรหญ้านกเค้า
-
สมุนไพรกัญชาเทศ
-
สมุนไพรฉัตรพระอินทร์
-
สมุนไพรแมงลักคา
-
สมุนไพรว่านหอมแดง
-
สมุนไพรว่านหางช้าง
-
สมุนไพรก้านเหลือง
-
สมุนไพรปอผี
-
สมุนไพรฮอมคำ
-
สมุนไพรโพกริ่ง
-
สมุนไพรบุนนาค
-
สมุนไพรพะวาใบใหญ่
-
มะดัน
-
มังคุด
-
สมุนไพรชะมวง
-
สมุนไพรติ้วตำ
-
สมุนไพรติ้วขน
-
สมุนไพรตังหน
-
สมุนไพรกระทิง
-
ข้าวโพด
-
สมุนไพรหญ้าไม้กวาด
-
สมุนไพรหญ้าพง
-
สมุนไพรข้าวฟ่าง
-
สมุนไพรแขม
-
สมุนไพรอ้อเล็ก
-
สมุนไพรหญ้าไข่เหา
-
สมุนไพรหญ้าชันกาด
-
สมุนไพรหญ้าตีนกา
-
สมุนไพรตะไคร้หอม
-
เดือย
-
สมุนไพรหญ้าเจ้าชู้
-
สมุนไพรอ้อ
-
สมุนไพรรักทะเล
-
สมุนไพรเมื่อย
-
สมุนไพรมะม่วย
-
สมุนไพรแปะก๊วย
-
สมุนไพรหวายลิง
-
สมุนไพรกระเบากลัก
-
สมุนไพรกระเบาใหญ่
-
สมุนไพรขานาง
-
สมุนไพรตะขบควาย
-
สมุนไพรตะขบป่า
-
สมุนไพรมะเยา
-
สมุนไพรโลดทะนง
-
สมุนไพรไม้เท้ายายม่อม
-
สมุนไพรมะฝ่อ
-
สมุนไพรปอกะปลา
-
สมุนไพรขันทองพยาบาท
-
สมุนไพรผักหวานบ้าน
-
สมุนไพรสมอทะเล
-
สมุนไพรละหุ่ง
-
สมุนไพรหญ้าใต้ใบ
-
สมุนไพรก้างปลาเครือ
-
สมุนไพรว่านธรณีสาร
-
สมุนไพรยายถีบหลาน
-
สมุนไพรมะขามป้อม
-
สมุนไพรผักหวานดง
-
สมุนไพรลูกใต้ใบ
-
มะยม
-
สมุนไพรแสยก
-
สมุนไพรมันสำปะหลัง
-
สมุนไพรคำป่า
-
สมุนไพรสอยดาว
-
สมุนไพรเปล้าใหญ่
-
สมุนไพรปริก
-
สมุนไพรตองเต๊า
-
สมุนไพรหล่อง่าม
-
สมุนไพรเม็ก
-
สมุนไพรมะหัง
-
สมุนไพรเต้าหลวง
-
สมุนไพรมะละกอฝรั่ง
-
สมุนไพรสบู่แดง
-
สมุนไพรสบู่ดำ
-
สมุนไพรทองหลางฝรั่ง
-
สมุนไพรไคร้น้ำ
-
สมุนไพรครำ
-
สมุนไพรตาตุ่มป่า
-
สมุนไพรกำลังกระบือ
-
สมุนไพรตาตุ่มทะเล
-
สมุนไพรคริสต์มาส
-
สมุนไพรส้มเช้า
-
สมุนไพรจิดอยด่วน
-
สมุนไพรน้ำนมราชสีห์ทะเล
-
สมุนไพรเปล้าน้ำเงิน
-
สมุนไพรโกสน
-
สมุนไพรดีหมี
-
สมุนไพรประคำไก่
-
สมุนไพรสลอด
-
สมุนไพรกระดอหดใบขน
-
สมุนไพรมะกาเครือ
-
สมุนไพรเต็งหนาม
-
สมุนไพรระงับพิษ
-
มะไฟ
-
มะไฟฝรั่ง
-
สมุนไพรเหมือนโลด
-
สมุนไพรโพธิสัตว์
-
สมุนไพรขางปอย
-
สมุนไพรชาข่อย
-
สมุนไพรไกรทอง
-
สมุนไพรหญ้าผมหงอก
-
สมุนไพรเม้าแดง
-
สมุนไพรหญ้าถอดปล้อง
-
ตะขบฝรั่ง
-
มะกอกน้ำ
-
สลอดเถา
-
สมุนไพรข่อยจีน
-
สมุนไพรหญ้าตีนตุ๊กแก
-
สมุนไพรพญารากดำ
-
สมุนไพรมะเกลือป่า
-
ตะโกสวน
-
พลับจีน
-
ตะโกจัน
-
มะพลับดง
-
สมุนไพรจัน
-
สมุนไพรตะโกพนม
-
สมุนไพรสั่งทำ
-
มะพลับ
-
สมุนไพรหญ้าน้ำค้าง
-
สมุนไพรจอกบ่วาย
-
สมุนไพรพะยอม
-
สมุนไพรเต็ง
-
สมุนไพรตะเคียนทอง
-
สมุนไพรตะเคียนหิน
-
มันคันขาว
-
กลอย
-
มันมือเสือ
-
มันขมิ้น
-
มันเสา
-
สมุนไพรส้านใบเล็ก
-
สมุนไพรรสสุคนธ์
-
สมุนไพรรสสุคนธ์แดง
-
แห้วไทย
-
สมุนไพรกก
-
สมุนไพรกกลังกา
-
สมุนไพรปรงทะเล
-
สมุนไพรปรงญี่ปุ่น
-
สมุนไพรปรงเขา
-
สมุนไพรปรง
-
สมุนไพรบวบขม
-
สมุนไพรบวบงู
-
สมุนไพรตำลึงตัวผู้
-
สมุนไพรแตงหนู
-
สมุนไพรฟักข้าว
-
สมุนไพรมะระ
-
สมุนไพรบวมหอม
-
สมุนไพรบวมเหลี่ยม
-
สมุนไพรน้ำเต้า
-
สมุนไพรสะระแหน่
-
สมุนไพรยี่หร่า
-
สมุนไพรพลู
-
สมุนไพรขี้กาแดง
-
สมุนไพรกะดอม
-
แตงกวา
-
แตงไทย
-
ฟักทองข้าวเจ้า
-
ฟักทอง
-
ผักตำลึง
-
แตงโม
-
ฟัก
-
สมุนไพรผักบุ้งทะเล
-
สมุนไพรว่านผักบุ้ง
-
มันเทศ
-
สมุนไพรผักบุ้ง
-
สมุนไพรใบต่อก้าน
-
สมุนไพรผักบุ้งรั้ว
-
สมุนไพรใบระบาด
-
สมุนไพรเครือพูเงิน
-
สมุนไพรมะขามเครือ
-
สมุนไพรถอบแถบเครือ
-
สมุนไพรถอบแถบ
-
สมุนไพรกระชับ
-
สมุนไพรกะเม็งตัวผู้
-
สมุนไพรผักคราดทะเล
-
สมุนไพรตานหม่อน
-
สมุนไพรหญ้าละออง
-
สมุนไพรกะพวมมะพร้าว
-
สมุนไพรดาวเรืองใหญ่
-
สมุนไพรผักแครด
-
สมุนไพรผักคราด
-
สมุนไพรหญ้าค้อนกลาง
-
สมุนไพรสะพ้านก้น
-
สมุนไพรขลู่
-
สมุนไพรขี้ไก่ย่าน
-
ผักกาดหอม
-
ตะไคร้สมุนไพร
-
สมุนไพรช้าพลู
-
สมุนไพรกะเพรา
-
สมุนไพรหญ้าหนวดแมว
-
สมุนไพรมะเขือขื่น
-
สมุนไพรพลูคาว
-
กาแฟ
-
ดอกกระดาด
-
ทานตะวัน
-
สมุนไพรผักกาบกด
-
สมุนไพรประคำดีควาย
-
สมุนไพรพญามุตติ
-
สมุนไพรสันพร้าหอม
-
สมุนไพรสาบเสือ
-
สมุนไพรผักบุ้งร่วม
-
สมุนไพรหางปลาช่อน
-
สมุนไพรโด่ไม่รู้ล้ม
-
สมุนไพรกะเม็ง
-
สมุนไพรผักชีดอย
-
สมุนไพรรักเร่
-
สมุนไพรแอหนัง
-
สมุนไพรเบญจมาศ
-
สมุนไพรเบญจมาศสวน
-
สมุนไพรผักตังโอ๋
-
สมุนไพรกระต่ายจันทร์
-
สมุนไพรคำฝอย
-
สมุนไพรผลาญศัตรู
-
สมุนไพรแอ๊สเตอร์
-
สมุนไพรดาวเรืองฝรั่ง
-
สมุนไพรหนาดวัว
-
สมุนไพรหนาดใหญ่
-
สมุนไพรปืนนกไส้
-
สมุนไพรก้นจ้ำ
-
สมุนไพรดาวกระจาย
-
สมุนไพรโกฐจุฬาลัมพา
-
สมุนไพรสาบแร้งสาบกา
-
สมุนไพรเยี่ยวหมู
-
สมุนไพรก้ามปูหลุด
-
สมุนไพรว่านหอยแครง
-
สมุนไพรเอื้องหิน
-
สมุนไพรกินกุ้งน้อย
-
สมุนไพรแห้วกระต่าย
-
สมุนไพรผักปลาบช้าง
-
สมุนไพรผักปลาบ
-
สมุนไพรขี้อ้าย
-
สมุนไพรตะแบกเลือด
-
สมุนไพรสมอไทย
-
สมุนไพรหูกวาง
-
สมุนไพรสกุณี
-
สมุนไพรสมอพิเภก
-
สมุนไพรรกฟ้า
-
สมุนไพรเล็บมือนาง
-
สมุนไพรฝาดขาว
-
สมุนไพรฝาดแดง
-
สมุนไพรคดสัง
-
สมุนไพรสะแกนา
-
สมุนไพรข้าวตอกแตก
-
สมุนไพรกระดูกไก่
-
สมุนไพรป๋วยเล้ง
-
สมุนไพรผักกาดแดง
-
สมุนไพรมะดูก
-
สมุนไพรกระทงลาย
-
สมุนไพรหญ้าพระโค
-
สมุนไพรสร้อยทองทราย
-
สมุนไพรแก้วลืมวาง
-
มะละกอ
-
สมุนไพรสายน้ำผึ้ง
-
สมุนไพรแจง
-
สมุนไพรกุ่มบก
-
สมุนไพรกุ่มน้ำ
-
สมุนไพรผักเสี้ยนผี
-
สมุนไพรผักเสี้ยน
-
สมุนไพรสะแอะ
-
สมุนไพรพุงแก
-
สมุนไพรหนามเกี่ยวไก่
-
สมุนไพรหนามหางนกกระลิง
-
สมุนไพรชิงชี่
-
สมุนไพรกระจิก
-
สมุนไพรพุทธรักษา
-
สมุนไพรกัญชา
-
สมุนไพรปีบฝรั่ง
-
สมุนไพรหนามเสมา
-
สมุนไพรเสมา
-
สมุนไพรนาคราช
-
มะแฟน
-
สมุนไพรตะคร้ำ
-
มะกอกเกลื้อน
-
มะกอกฟาน
-
สมุนไพรสมอจีน
-
ราชาวดีป่า
-
ผึ้ง
-
ปลวก
-
ชันโรง
-
ครั่ง
-
ไข่มุก
-
หอยมุก
-
หอยมือเสือ
-
หอยพิมพการัง
-
หอยแครง
-
ประเภทผล
-
ประเภทดอก
-
ประเภทใบ
-
ประเภทเนื้อไม้
-
ประเภทเปลือกไม้
-
ประเภทเถา
-
ประเภทหัวหรือเหง้า
-
ประเภทราก
-
ปัจจัยที่มีผลต่อคุณภาพของสมุนไพร
-
การทำสมุนไพรแห้ง
-
การเก็บสมุนไพร
-
สมุนไพรยางสลัดได
-
สมุนไพรว่านหางจระเข้
-
สมุนไพรยาดำ
-
สมุนไพรฝิ่น
-
สมุนไพรยางพลวง
-
สมุนไพรสมอพิเภก
-
สมุนไพรสมอดีงู
-
สมุนไพรโมกหลวง
-
สมุนไพรมะตูม
-
สมุนไพรน้ำมันยาง
-
สมุนไพรกำยาน
-
สมุนไพรมหาหิงคุ์
-
สมุนไพรมดยอบ
-
สมุนไพรสนสามใบ
-
น้ำมันมะกอก
-
น้ำมันมะพร้าว
-
น้ำมันละหุ่ง
-
น้ำมันงา
-
น้ำมันระเหยยาก
-
การะบูร
-
พิมเสนหนาด
-
พิมเสน
-
น้ำมันพิมเสน
-
น้ำมันระเหยง่าย
-
พรรณผักกาด
-
สมุนไพรลูกจันทน์ -ดอกจันทน์
-
สับปะรด
-
สมุนไพรผักแผ้วขาว
-
สมุนไพรเหลียง
-
สมุนไพรหญ้างวงช้าง
-
ทุเรียน
-
นุ่น
-
งิ้ว
-
สมุนไพรคำแสด
-
สมุนไพรแคหิน
-
สมุนไพรแคยอดดำ
-
สมุนไพรแคแสด
-
สมุนไพรเพกา
-
สมุนไพรปีป
-
สมุนไพรแคทะเล
-
สมุนไพรก่อสร้อย
-
สมุนไพรส้มกุ้ง
-
ผักปลัง
-
สมุนไพรกระโดน
-
สมุนไพรจิกนม
-
สมุนไพรจิกเล
-
สมุนไพรจิกน้ำ
-
สมุนไพรเทียนดอก
-
ตะลิงปลิง
-
มะเฟือง
-
เห็ดหูหนู
-
สมุนไพรพญาไร้ใบ
-
สมุนไพรข้าวสารดอกใหญ่
-
สมุนไพรข้าวสารดอกเล็ก
-
สมุนไพรจมูกปลาหลด
-
สมุนไพรครามเถา
-
สมุนไพรกล้วยไม้พันงู
-
สมุนไพรนมตำเลีย
-
สมุนไพรลิ้นควาย
-
สมุนไพรนมเมีย
-
สมุนไพรกระทุงหมาบ้า
-
สมุนไพรโกศพุงปลา
-
สมุนไพรปอบิด
-
สมุนไพรขมิ้นเครือ
-
สมุนไพรเกล็ดมังกร
-
สมุนไพรเกล็ดนาคราช
-
สมุนไพรดอกรัก
-
สมุนไพรอบเชยเถา
-
สมุนไพรเทียนแดง
-
สมุนไพรกระเช้าฝีมด
-
สมุนไพรกระเช้าสีดา
-
สมุนไพรหนุมานประสานกาย
-
สมุนไพรครุฑตีนตะพาบน้ำ
-
สมุนไพรครุฑทอดมัน
-
สมุนไพรโสมจีน
-
สมุนไพรกระจับเขา
-
สมุนไพรผักแปม
-
สมุนไพรอุตพิต
-
สมุนไพรบอนแบ้ว
-
สมุนไพรพลูช้าง
-
สมุนไพรหวายตะมอย
-
สมุนไพรจอก
-
สมุนไพรผักหนาม
-
สมุนไพรเสน่ห์จันทน์แดง
-
สมุนไพรบอนส้ม
-
สมุนไพรเต่าเกียด
-
สมุนไพรว่านเขียวหมื่นปี
-
สมุนไพรว่านสิงหโมรา
-
สมุนไพรกระดาดขาว
-
เผือก
-
บุก
-
สมุนไพรกระดาดดำ
-
เผือกกะลา
-
สมุนไพรพรมตีนสูง
-
สมุนไพรเถามวกขาว
-
สมุนไพรโมกมัน
-
สมุนไพรโมกบ้าน
-
สมุนไพรโมก
-
สมุนไพรคุย
-
สมุนไพรชำมะนาดป่า
-
สมุนไพรยี่โถฝรั่ง
-
สมุนไพรระย่อม
-
สมุนไพรชะย่อมหลวง
-
สมุนไพรลั่นทมแดง
-
สมุนไพรลั่นทมขาว
-
ลั่นทมสมุนไพร
-
สมุนไพรยี่โถ
-
สมุนไพรโมกใหญ่
-
สมุนไพรพริกป่าใหญ่
-
สมุนไพรพุดซ้อน
-
สมุนไพรตีนเป็ดน้ำ
-
สมุนไพรตีนเป็ดทราย
-
สมุนไพรแพงพวยฝรั่ง
-
สมุนไพรหนามพรม
-
สมุนไพรหนามแดง
-
สมุนไพรหิรัญญิการ์
-
สมุนไพรยางน่องเถา
-
สมุนไพรชะลูด
-
สมุนไพรนูดพระ
-
สมุนไพรสัตตบรรณ
-
สมุนไพรทุ้งฟ้า
-
สมุนไพรบานบุรีเหลือง
-
สมุนไพรโมกเครือ
-
สมุนไพรนมควาย
-
สมุนไพรกะเจียน
-
สมุนไพรลำดวน
-
สมุนไพรกระดังงาไทย
-
สมุนไพรสะแกแสง
-
น้อยหน่า
-
น้อยโหน่ง
-
ทุเรียนเทศ
-
สมุนไพรกำลังวัวเถลิง
-
สมุนไพรค้อนหมาแดง
-
มะกอก
-
สมุนไพรรักใหญ่
-
สมุนไพรมะม่วง
-
สมุนไพรอ้อยช้าง
-
มะปราง
-
มะม่วงหิมพานต์
-
สมุนไพรพลับพลึงดอกแดง
-
สมุนไพรพลับพลึง
-
สมุนไพรบานไม่รู้โรย
-
สมุนไพรหญ้าพันงูแดง
-
สมุนไพรหงอนไก่ไทย
-
สมุนไพรว่านแร้งคอคำ
-
สมุนไพรผักโขมหนาม
-
สมุนไพรผักโขม
-
สมุนไพรผักเป็ด
-
สมุนไพรหญ้าพันงูขาว
-
สมุนไพรกระเทียม
-
สมุนไพรหอมไทย
-
สมุนไพรปรู
-
สมุนไพรผักเบี้ย
-
สมุนไพรผักโขมหิน
-
สมุนไพรหญ้าไข่เหา
-
สมุนไพรสะเดาดิน
-
สมุนไพรรางจืด
-
สมุนไพรเนียม
-
สมุนไพรทองพันชั่ง
-
สมุนไพรต้อยติ่งไทย
-
สมุนไพรดาดตะกั่ว
-
สมุนไพรใบเงิน ใบทอง ใบนาก
-
สมุนไพรกระดูกไก่ดำ
-
สมุนไพรพญาปล้องทอง
-
สมุนไพรสังกรณี
-
สมุนไพรอังกาบหนู
-
เสลดพังพอน
-
สมุนไพรอังกาบ
-
สมุนไพรตำลึงหวาน
-
สมุนไพรฟ้าทะลายโจร
-
สมุนไพรเสนียด
-
สมุนไพรเหงือกปลาหมอเครือ
-
สมุนไพรฝักราชพฤกษ์
-
สมุนไพรผลราชดัด
-
สมุนไพรเทียนตาตั๊กแตน
-
สมุนไพรดีปลี
-
สมุนไพรกระวาน
-
สัณฐานของผล
-
สมุนไพรกลีบจำปา
-
สมุนไพรดอกสารภี
-
สมุนไพรกานพลู
-
สัณฐานของดอก
-
ใบโคคา:คุณอนันต์ โทษมหันต์
-
สมุนไพรใบผักบุ้งขัน
-
สมุนไพรใบเปล้าน้อย
-
สมุนไพรใบตองแตก
-
สมุนไพรใบชาแป้น
-
ใบของต้นคนที
-
สัณฐานของใบ
-
สมุนไพรจันทร์แดง
-
สมุนไพรกฤษณา
-
สมุนไพรแก่นฝาง
-
สมุนไพรแก่นจันทน์
-
ยาจากแก่น
-
สมุนไพรอบเชยเทศ
-
สมุนไพรอบเชย
-
สมุนไพรเปลือกรกฟ้า
-
เครื่องยาจากเปลือกต้น
-
หอมแดง
-
สมุนไพรว่านน้ำ
-
สมุนไพรขมิ้นอ้อย
-
สมุนไพรขมิ้นชัน
-
ประโยชน์ทางยาเปลือกหอยขม
-
หอยขม
-
ประโยชน์ทางยาของสังข์
-
สังข์
-
หอยเม็ดขนุน (หอยกระดุม)
-
ประโยชน์ทางยาของเบี้ย
-
ประโยชน์ทางยาของเบี้ย
-
เบี้ย
-
ชั้นหอยกาบเดี่ยว
-
เนาวหอย
-
บทที่ ๒ หมวดมอลลัสกา
-
ปลิงทะเล
-
แผนปลิงคว่ำ – แผนปลิงหงาย
-
ประโยชน์ทางยาของปลิง
-
ชีววิทยาของปลิง
-
ปลิง
-
ประโยชน์ทางยาของไส้เดือน
-
ชีววิทยาของไส้เดือนดิน
-
บทที่ ๑ หมวดแอนเนลิดา
-
เครื่องยาสัตววัตถุ
-
ชื่อวิทยาศาสตร์ของสัตว์
-
ลำดับการจัดหมวดหมู่ของ
-
อาณาจักรสัตว์
-
การจัดหมวดหมู่ของสิ่งมีชีวิต
-
สัตวชาติในภูมิปัญญาไทย
-
บทนำ
-
เครื่องยาจากลำต้นใต้ดิน
-
ลำต้นสัณฐานของลำต้น
-
สมุนไพรรากเจตมูลเพลิง
-
สมุนไพรยิงโสม
-
สมุนไพรรากดองดึง
-
เครื่องยาจากราก
-
สัณฐานของราก
-
ถิ่นที่อยู่ของพืช
-
สัณฐานวิทยาของพืชสมุนไพร
-
สรรพคุณเภสัช
-
ข้อพึงรู้เกี่ยวกับเครื่องยา
-
ความหมายของสมุนไพร
-
เครื่องยาพฤกษวัตถุ
-
สุรา
-
น้ำอัษฎางคุลี
-
น้ำส้มสายชู
-
น้ำส้มซ่า
-
น้ำร้อน
-
น้ำมูตรโคดำ
-
น้ำมะนาว
-
น้ำมะงั่ว
-
น้ำมวกเขา
-
น้ำผึ้งและน้ำผึ้งรวง
-
น้ำใบผักไห่
-
น้ำใบชา
-
น้ำใบกล้วยตีบ
-
น้ำนม
-
น้ำดอกไม้เทศ
-
น้ำดอกไม้
-
น้ำซาวข้าว
-
น้ำชะเอม
-
สมุนไพรจันทน์ขาว
-
น้ำขิง
-
น้ำกระเทียม
-
ขัณฑสกร
-
น้ำกระสายยาที่ใช้ในตำราพระโอสถพระนารายณ์
-
ตำราพระโอสรพระนารายณ์
-
สมุนไพรญ่าฝรั่น
-
น้ำมันหอม
-
สัตตเขา เนาวเขี้ยว
-
การเตรียมน้ำกระสายยา
-
สมุนไพรแมงลัก
-
สมุนไพรมะเกลือ
-
ทับทิม
-
ยาเหลืองปิดสมุทร
-
สมุนไพรชุมเห็ดเทศ
-
ยาธาตุบรรจบ
-
สมุนไพรชะเอมไทย
-
ความนำเรื่องน้ำกระสายยา
-
สมุนไพรกระชายดำ
-
-
สมัครรับข่าวสาร
น้ำมันมะพร้าว
น้ำมันมะพร้าว
น้ำมันมะพร้าวเป็นน้ำมันระเหยยากที่บีบหรือสกัดได้จากเนื้อในเมล็ดมะพร้าว ต้นมะพร้าว
มีชื่อพฤกษศาสตร์ว่า Cocos nucifera L.
จัดอยู่ในวงศ์ Palmae
มีถิ่นกำเนิดที่เกาะโคโคสและเกาะคีลลิง ในมหาสมุทรอินเดีย เป็นพืชอาสินที่สำคัญชนิดหนึ่งของโลก
บางถิ่นเรียก หมากอุ๋น หมากอูน ต้นมะพร้าวมีชื่อสามัญว่า coconut palm หรือ coconut tree มะพร้าว
เป็นไม้ยืนต้นสูง ๒๐-๓๐ เมตร (ในปัจจุบันมีการผสมพันธุ์และคัดเลือกพันธุ์ให้ได้พันธุ์เตี้ยที่ไม่สูงเกิน ๒๐ เมตร) ไม่แตกกิ่งก้านสาขา ใบเป็นใบประกอบแบบขนนก เรียงซ้อนกันเป็น กระจุกที่ยอด มี ๓๐-๕๐ ใบ ใบยาว ๓-๗ เมตร กว้าง ๑-๑.๔๐ เมตร มีใบย่อยจำนวนมาก มายย่อยรูปแคบยาว กว้าง ๓-๗ เซนติเมตร ยาว ๖๐-๙๐ เซนติเมตร แผ่นใบบาง เนื้อเหนียว เส้นกลางใบย่อยสีเหลือง ก้านใบประกอบยาว ๙๐-๑๕๐ เซนติเมตร โคนบานออกโอบติดกับลำต้น ดอกออกรวมเป็นช่อ จากซอกใบ ช่อดอกมีกาบหุ้ม กาบแตกตามยาว เรียก จั่นพร้าว ดอกเพศผู้ และดอกเพศเมียอยู่ต่างดอกกัน ดอกเพศผู้มากอยู่ทางปลายช่อ ขนาดเล็กมีเกสรเพศผู้ ๖ อัน เกสรเพศเมียเป็นหมัน มีขนาดเล็ก หรือไม่มีเลย ดอกเพศเมียมักอยู่ที่โคนช่อ มีขนาดใหญ่ ขนาดวัดผ่านศูนย์กลางราว ๒.๕ เซนติเมตร มีกลีบดอก ๖ กลีบ รังไข่ทรงสามเหลี่ยม ผลเป็นช่อขนาดใหญ่ เรียก ทะลาย ติดอยู่บนแกนดอกช่อที่แข็งแรง ผลทรงกลม หรือรีแกมรูปสามเหลี่ยม ยาว ๒๐-๓๕เซนติเมตร วัดผ่านศูนย์กลางได้ ๒๑-๒๔ เซนติเมตร ผลอ่อนสีเขียว ผลแก่สีน้ำตาล เปลือกนอกเรียบ เนื้อเหนียว ชั้นกลางเป็นเส้นใยนุ่ม เรียก ใยมะพร้าว เปลือกชั้นในแข็งมาก เรียก กะลา เนื้อในเมล็ดสีขาว ภายในมีน้ำใส เรียก น้ำมะพร้าว เนื้อในเมล็ดนั้น หั่นเป็นชิ้น ตากแดดให้แห้ง มีชื่อเรียกว่า เนื้อมะพร้าวแห้ง มีน้ำมันระเหยยากอยู่ราวร้อยละ ๖๐-๖๕ เมื่อนำเอาไปบีบและเคี่ยวจะได้น้ำมันระเหยยาก เรียก น้ำมันมะพร้าว ซึ่งประกอบด้วยสารกรดไขมันหลายชนิดเช่น กรดลอริกราวร้อยละ ๔๕ กรดคาปริก ราวร้อยละ ๑๐ กรดคาไพรลิก ราวร้อยละ ๙ กรดปาล์มเมติก ราวร้อยละ๗
น้ำมันมะพร้าวที่เตรียมได้ใหม่ๆ จะเหลว ใส มีกลิ่นหอม ที่ ๓๐° ซ หรือสูงกว่านั้น เมื่อเก็บไว้ในที่เย็นลง (ที่อุณหภูมิต่ำกว่า ๒๐) จะเริ่มข้นขาวคล้ายเนื้อเนยแข็ง มีกลิ่นเฉพาะตัว ใช้ปรุงอาหาร โบราณใช้เป็นยาทาแก้กลาก ทาแผลที่เกิดจากความเย็นจัดหรือร้อนจัด ใช้ผสมกับยาอื่นทาแก้โรคผิวหนังต่างๆ ใช้ทาตัวแก้ผิวหนังแตกลายเป็นขุย มะพร้าวเป็นพืชที่มีประโยชน์มาก คนไทยและคนต่างและคนชาติอื่นๆหลายชาติ รู้จักใช้ประโยชน์จากแทบทุกส่วนของต้นมะพร้าว ไส้กลางต้นและยอดอ่อนกินได้ เนื้อในเมล็ดและน้ำคั้นจากเนื้อในเมล็ดเรียก น้ำกะทิ ใช้ปรุงอาหารทั้งคาวหวาน โบราณรู้จักใช้ส่วนต่างๆของต้นพร้าวเป็นยา เช่น รากมะพร้าวมีรสฝาดหวาน ใช้เป็นยาขับปัสสาวะ ยาแก้ท้องเสีย ต้องเอาน้ำ อมแก้ปากเจ็บ เปลือกต้นเผาเป็นเถ้า ใช้ทาแก้หิด ใช้สีฟันแก้ปวดฟัน ดอกมีรสฝาดหวาน มีสรรพคุณแก้ไข้ แก้ท้องเดิน แก้ร้อนใน กระหายน้ำ เป็นยาบำรุงโลหิต แก้ปากเปื่อย เปลือกผล (ชั้นนอกที่เรียบเหนียวกับชั้นกลางที่เป็นเส้นใย) มีรสฝาดขม สุขุม ใช้ปรุงเป็นยาแก้ปวด แก้อาเจียน และห้ามเลือด
กะลามะพร้าวตากแดดให้แห้ง ใช้ปรุงเป็นยาแก้ปวดเอ็น ปวดกระดูก หรือเพราะเขาเป็นถ่านแล้วบดเป็นผง กินเป็นยาแก้ท้องเสียและยาดูดพิษต่างๆ เนื้อมะพร้าว(เนื้อในเมล็ด) รสสุขุม กินเป็นยาบำรุงกำลัง ยาขับพยาธิ
น้ำมะพร้าว มีรสหวานสุขุม แก้กระหาย ทำให้ดวงจิตรชุ่มชื่น แก้อ่อนเพลีย บำรุงครรภ์ บำรุงหัวใจ แก้พิษ แก้อาเจียนเป็นเลือด เป็นต้น โบราณถือว่าน้ำมะพร้าวเป็นน้ำบริสุทธิ์ ใช้ล้างหน้าศพก่อนเผา มะพร้าวพันธุ์หนึ่งมีผลอ่อนสีเหลืองอมแสนหรือแดง เรียก มะพร้าวไฟ แพทย์โบราณนิยมใช้เนื้อคั้นเอาแต่หัวกะทิ ผสมกับน้ำค้างสมุนไพรอื่น เคี่ยวเป็นยาน้ำมัน
รูปภาพจาก:haijai.com,aromalab.gr