-
-
พิกัดโกษฐ์
-
พิกัดเกสร
-
คณาเภสัช
-
ชื่อพฤกษศาสตร์ของต้นพืชคืออะไร?
-
อนุกรมวิธานพืชกับชื่อพฤกษศาสตร์ของพืช
-
ประเภทผลิตผลจากพืช
-
เครื่องปรุง(คณาเภสัช)
-
ประเภทส่วนต่างๆของพืชชนิดเดียวกันใช้ร่วมกันส่วนต่างๆของพืชชนิดเดียวกัน
-
ประเภทเมล็ด
-
หมูหริ่ง
-
หมูป่า
-
หมีที่พบในประเทศไทย
-
เสือโคร่ง
-
โคโรค
-
วัว
-
เลียงผา
-
ลิ่น
-
แรด
-
เม่น
-
แพะ
-
อำพัน
-
ลำพันแดง
-
ปลาพะยูน
-
ช้าง
-
สมุนไพรจันทน์ชะมด
-
ชะมดเชียง
-
สมุนไพรชะมดต้น
-
ควาย
-
น้ำมันขนแกะ
-
โกษฐ์สิงคี
-
เขาสัตว์อื่นที่ใช้แทนเขากุยได้
-
กุย
-
เขากวางอ่อน
-
โหรามิคสิงคี
-
กวาง
-
สัตว์ชั้นเลี้ยงลูกด้วยนม
-
รังนกอีแอ่น
-
อีแอ่น
-
อีแอ่นกินรัง
-
พญาแร้ง
-
อีแก
-
อีกากับนกกาเหว่า
-
อีกา
-
นกยูง
-
นกกะลิง
-
นกกวัก
-
นกกระจอก
-
ไก่ป่า
-
ไก่บ้าน
-
ชั้นสัตว์ปีก
-
กระดองเต่าเหลือง
-
เต่านา
-
วงศ์เต่าบก
-
วงศ์เต่าน้ำจืด
-
เต่าในประเทศไทย
-
กระดองตะพาบจีน
-
ตะพาบน้ำ
-
จระเข้
-
งูเห่า
-
งูเหลือม
-
จงโคร่ง
-
คางคก
-
ปลาร้า
-
ปลาดุก
-
ปลาช่อน
-
หูฉลาม
-
หมวดคอร์ดาตา
-
แมงมุม
-
ปูทะเล
-
กุ้ง
-
หมาร่า
-
แมลงสาบ
-
มดลี่
-
มดแดง
-
สมุนไพรแสมสาร
-
สมุนไพรเพกา
-
สมุนไพรเจตมูลเพลิงขาว
-
สมุนไพรคำฝอย
-
สมุนไพรกะทือ
-
สมุนไพรกำลังกระบือ
-
สมุนไพรขับประจำเดือน
-
สมุนไพรเสลดพังพอน
-
สมุนไพรเลี่ยน
-
สมุนไพรลิ้นงูเห่า
-
สมุนไพรพิลังกาสา
-
สมุนไพรใบระนาด
-
สมุนไพรเทียนดอก
-
แก้โรคผิวหนัง
-
สมุนไพรเขือง
-
สมุนไพรกะตังใบ
-
สมุนไพรต้นเอียน
-
สมุนไพรฟันปลา
-
สมุนไพรกะทัง
-
สมุนไพรหมีเหม็น
-
สมุนไพรเทพทาโร
-
สมุนไพรเชียด
-
สมุนไพรอบเชยจีน
-
สมุนไพรอบเชยญวณ
-
สมุนไพรสาบแร้งสาบกา
-
สมุนไพรฤาษีผสมแล้ว
-
สมุนไพรงาขี้ม้อน
-
สมุนไพรโหระพา
-
สมุนไพรแมงกะแซง
-
สมุนไพรผักฮ้าน
-
สมุนไพรสะระแหน่ญี่ปุ่น
-
สมุนไพรหญ้านกเค้า
-
สมุนไพรกัญชาเทศ
-
สมุนไพรฉัตรพระอินทร์
-
สมุนไพรแมงลักคา
-
สมุนไพรว่านหอมแดง
-
สมุนไพรว่านหางช้าง
-
สมุนไพรก้านเหลือง
-
สมุนไพรปอผี
-
สมุนไพรฮอมคำ
-
สมุนไพรโพกริ่ง
-
สมุนไพรบุนนาค
-
สมุนไพรพะวาใบใหญ่
-
มะดัน
-
มังคุด
-
สมุนไพรชะมวง
-
สมุนไพรติ้วตำ
-
สมุนไพรติ้วขน
-
สมุนไพรตังหน
-
สมุนไพรกระทิง
-
ข้าวโพด
-
สมุนไพรหญ้าไม้กวาด
-
สมุนไพรหญ้าพง
-
สมุนไพรข้าวฟ่าง
-
สมุนไพรแขม
-
สมุนไพรอ้อเล็ก
-
สมุนไพรหญ้าไข่เหา
-
สมุนไพรหญ้าชันกาด
-
สมุนไพรหญ้าตีนกา
-
สมุนไพรตะไคร้หอม
-
เดือย
-
สมุนไพรหญ้าเจ้าชู้
-
สมุนไพรอ้อ
-
สมุนไพรรักทะเล
-
สมุนไพรเมื่อย
-
สมุนไพรมะม่วย
-
สมุนไพรแปะก๊วย
-
สมุนไพรหวายลิง
-
สมุนไพรกระเบากลัก
-
สมุนไพรกระเบาใหญ่
-
สมุนไพรขานาง
-
สมุนไพรตะขบควาย
-
สมุนไพรตะขบป่า
-
สมุนไพรมะเยา
-
สมุนไพรโลดทะนง
-
สมุนไพรไม้เท้ายายม่อม
-
สมุนไพรมะฝ่อ
-
สมุนไพรปอกะปลา
-
สมุนไพรขันทองพยาบาท
-
สมุนไพรผักหวานบ้าน
-
สมุนไพรสมอทะเล
-
สมุนไพรละหุ่ง
-
สมุนไพรหญ้าใต้ใบ
-
สมุนไพรก้างปลาเครือ
-
สมุนไพรว่านธรณีสาร
-
สมุนไพรยายถีบหลาน
-
สมุนไพรมะขามป้อม
-
สมุนไพรผักหวานดง
-
สมุนไพรลูกใต้ใบ
-
มะยม
-
สมุนไพรแสยก
-
สมุนไพรมันสำปะหลัง
-
สมุนไพรคำป่า
-
สมุนไพรสอยดาว
-
สมุนไพรเปล้าใหญ่
-
สมุนไพรปริก
-
สมุนไพรตองเต๊า
-
สมุนไพรหล่อง่าม
-
สมุนไพรเม็ก
-
สมุนไพรมะหัง
-
สมุนไพรเต้าหลวง
-
สมุนไพรมะละกอฝรั่ง
-
สมุนไพรสบู่แดง
-
สมุนไพรสบู่ดำ
-
สมุนไพรทองหลางฝรั่ง
-
สมุนไพรไคร้น้ำ
-
สมุนไพรครำ
-
สมุนไพรตาตุ่มป่า
-
สมุนไพรกำลังกระบือ
-
สมุนไพรตาตุ่มทะเล
-
สมุนไพรคริสต์มาส
-
สมุนไพรส้มเช้า
-
สมุนไพรจิดอยด่วน
-
สมุนไพรน้ำนมราชสีห์ทะเล
-
สมุนไพรเปล้าน้ำเงิน
-
สมุนไพรโกสน
-
สมุนไพรดีหมี
-
สมุนไพรประคำไก่
-
สมุนไพรสลอด
-
สมุนไพรกระดอหดใบขน
-
สมุนไพรมะกาเครือ
-
สมุนไพรเต็งหนาม
-
สมุนไพรระงับพิษ
-
มะไฟ
-
มะไฟฝรั่ง
-
สมุนไพรเหมือนโลด
-
สมุนไพรโพธิสัตว์
-
สมุนไพรขางปอย
-
สมุนไพรชาข่อย
-
สมุนไพรไกรทอง
-
สมุนไพรหญ้าผมหงอก
-
สมุนไพรเม้าแดง
-
สมุนไพรหญ้าถอดปล้อง
-
ตะขบฝรั่ง
-
มะกอกน้ำ
-
สลอดเถา
-
สมุนไพรข่อยจีน
-
สมุนไพรหญ้าตีนตุ๊กแก
-
สมุนไพรพญารากดำ
-
สมุนไพรมะเกลือป่า
-
ตะโกสวน
-
พลับจีน
-
ตะโกจัน
-
มะพลับดง
-
สมุนไพรจัน
-
สมุนไพรตะโกพนม
-
สมุนไพรสั่งทำ
-
มะพลับ
-
สมุนไพรหญ้าน้ำค้าง
-
สมุนไพรจอกบ่วาย
-
สมุนไพรพะยอม
-
สมุนไพรเต็ง
-
สมุนไพรตะเคียนทอง
-
สมุนไพรตะเคียนหิน
-
มันคันขาว
-
กลอย
-
มันมือเสือ
-
มันขมิ้น
-
มันเสา
-
สมุนไพรส้านใบเล็ก
-
สมุนไพรรสสุคนธ์
-
สมุนไพรรสสุคนธ์แดง
-
แห้วไทย
-
สมุนไพรกก
-
สมุนไพรกกลังกา
-
สมุนไพรปรงทะเล
-
สมุนไพรปรงญี่ปุ่น
-
สมุนไพรปรงเขา
-
สมุนไพรปรง
-
สมุนไพรบวบขม
-
สมุนไพรบวบงู
-
สมุนไพรตำลึงตัวผู้
-
สมุนไพรแตงหนู
-
สมุนไพรฟักข้าว
-
สมุนไพรมะระ
-
สมุนไพรบวมหอม
-
สมุนไพรบวมเหลี่ยม
-
สมุนไพรน้ำเต้า
-
สมุนไพรสะระแหน่
-
สมุนไพรยี่หร่า
-
สมุนไพรพลู
-
สมุนไพรขี้กาแดง
-
สมุนไพรกะดอม
-
แตงกวา
-
แตงไทย
-
ฟักทองข้าวเจ้า
-
ฟักทอง
-
ผักตำลึง
-
แตงโม
-
ฟัก
-
สมุนไพรผักบุ้งทะเล
-
สมุนไพรว่านผักบุ้ง
-
มันเทศ
-
สมุนไพรผักบุ้ง
-
สมุนไพรใบต่อก้าน
-
สมุนไพรผักบุ้งรั้ว
-
สมุนไพรใบระบาด
-
สมุนไพรเครือพูเงิน
-
สมุนไพรมะขามเครือ
-
สมุนไพรถอบแถบเครือ
-
สมุนไพรถอบแถบ
-
สมุนไพรกระชับ
-
สมุนไพรกะเม็งตัวผู้
-
สมุนไพรผักคราดทะเล
-
สมุนไพรตานหม่อน
-
สมุนไพรหญ้าละออง
-
สมุนไพรกะพวมมะพร้าว
-
สมุนไพรดาวเรืองใหญ่
-
สมุนไพรผักแครด
-
สมุนไพรผักคราด
-
สมุนไพรหญ้าค้อนกลาง
-
สมุนไพรสะพ้านก้น
-
สมุนไพรขลู่
-
สมุนไพรขี้ไก่ย่าน
-
ผักกาดหอม
-
ตะไคร้สมุนไพร
-
สมุนไพรช้าพลู
-
สมุนไพรกะเพรา
-
สมุนไพรหญ้าหนวดแมว
-
สมุนไพรมะเขือขื่น
-
สมุนไพรพลูคาว
-
กาแฟ
-
ดอกกระดาด
-
ทานตะวัน
-
สมุนไพรผักกาบกด
-
สมุนไพรประคำดีควาย
-
สมุนไพรพญามุตติ
-
สมุนไพรสันพร้าหอม
-
สมุนไพรสาบเสือ
-
สมุนไพรผักบุ้งร่วม
-
สมุนไพรหางปลาช่อน
-
สมุนไพรโด่ไม่รู้ล้ม
-
สมุนไพรกะเม็ง
-
สมุนไพรผักชีดอย
-
สมุนไพรรักเร่
-
สมุนไพรแอหนัง
-
สมุนไพรเบญจมาศ
-
สมุนไพรเบญจมาศสวน
-
สมุนไพรผักตังโอ๋
-
สมุนไพรกระต่ายจันทร์
-
สมุนไพรคำฝอย
-
สมุนไพรผลาญศัตรู
-
สมุนไพรแอ๊สเตอร์
-
สมุนไพรดาวเรืองฝรั่ง
-
สมุนไพรหนาดวัว
-
สมุนไพรหนาดใหญ่
-
สมุนไพรปืนนกไส้
-
สมุนไพรก้นจ้ำ
-
สมุนไพรดาวกระจาย
-
สมุนไพรโกฐจุฬาลัมพา
-
สมุนไพรสาบแร้งสาบกา
-
สมุนไพรเยี่ยวหมู
-
สมุนไพรก้ามปูหลุด
-
สมุนไพรว่านหอยแครง
-
สมุนไพรเอื้องหิน
-
สมุนไพรกินกุ้งน้อย
-
สมุนไพรแห้วกระต่าย
-
สมุนไพรผักปลาบช้าง
-
สมุนไพรผักปลาบ
-
สมุนไพรขี้อ้าย
-
สมุนไพรตะแบกเลือด
-
สมุนไพรสมอไทย
-
สมุนไพรหูกวาง
-
สมุนไพรสกุณี
-
สมุนไพรสมอพิเภก
-
สมุนไพรรกฟ้า
-
สมุนไพรเล็บมือนาง
-
สมุนไพรฝาดขาว
-
สมุนไพรฝาดแดง
-
สมุนไพรคดสัง
-
สมุนไพรสะแกนา
-
สมุนไพรข้าวตอกแตก
-
สมุนไพรกระดูกไก่
-
สมุนไพรป๋วยเล้ง
-
สมุนไพรผักกาดแดง
-
สมุนไพรมะดูก
-
สมุนไพรกระทงลาย
-
สมุนไพรหญ้าพระโค
-
สมุนไพรสร้อยทองทราย
-
สมุนไพรแก้วลืมวาง
-
มะละกอ
-
สมุนไพรสายน้ำผึ้ง
-
สมุนไพรแจง
-
สมุนไพรกุ่มบก
-
สมุนไพรกุ่มน้ำ
-
สมุนไพรผักเสี้ยนผี
-
สมุนไพรผักเสี้ยน
-
สมุนไพรสะแอะ
-
สมุนไพรพุงแก
-
สมุนไพรหนามเกี่ยวไก่
-
สมุนไพรหนามหางนกกระลิง
-
สมุนไพรชิงชี่
-
สมุนไพรกระจิก
-
สมุนไพรพุทธรักษา
-
สมุนไพรกัญชา
-
สมุนไพรปีบฝรั่ง
-
สมุนไพรหนามเสมา
-
สมุนไพรเสมา
-
สมุนไพรนาคราช
-
มะแฟน
-
สมุนไพรตะคร้ำ
-
มะกอกเกลื้อน
-
มะกอกฟาน
-
สมุนไพรสมอจีน
-
ราชาวดีป่า
-
ผึ้ง
-
ปลวก
-
ชันโรง
-
ครั่ง
-
ไข่มุก
-
หอยมุก
-
หอยมือเสือ
-
หอยพิมพการัง
-
หอยแครง
-
ประเภทผล
-
ประเภทดอก
-
ประเภทใบ
-
ประเภทเนื้อไม้
-
ประเภทเปลือกไม้
-
ประเภทเถา
-
ประเภทหัวหรือเหง้า
-
ประเภทราก
-
ปัจจัยที่มีผลต่อคุณภาพของสมุนไพร
-
การทำสมุนไพรแห้ง
-
การเก็บสมุนไพร
-
สมุนไพรยางสลัดได
-
สมุนไพรว่านหางจระเข้
-
สมุนไพรยาดำ
-
สมุนไพรฝิ่น
-
สมุนไพรยางพลวง
-
สมุนไพรสมอพิเภก
-
สมุนไพรสมอดีงู
-
สมุนไพรโมกหลวง
-
สมุนไพรมะตูม
-
สมุนไพรน้ำมันยาง
-
สมุนไพรกำยาน
-
สมุนไพรมหาหิงคุ์
-
สมุนไพรมดยอบ
-
สมุนไพรสนสามใบ
-
น้ำมันมะกอก
-
น้ำมันมะพร้าว
-
น้ำมันละหุ่ง
-
น้ำมันงา
-
น้ำมันระเหยยาก
-
การะบูร
-
พิมเสนหนาด
-
พิมเสน
-
น้ำมันพิมเสน
-
น้ำมันระเหยง่าย
-
พรรณผักกาด
-
สมุนไพรลูกจันทน์ -ดอกจันทน์
-
สับปะรด
-
สมุนไพรผักแผ้วขาว
-
สมุนไพรเหลียง
-
สมุนไพรหญ้างวงช้าง
-
ทุเรียน
-
นุ่น
-
งิ้ว
-
สมุนไพรคำแสด
-
สมุนไพรแคหิน
-
สมุนไพรแคยอดดำ
-
สมุนไพรแคแสด
-
สมุนไพรเพกา
-
สมุนไพรปีป
-
สมุนไพรแคทะเล
-
สมุนไพรก่อสร้อย
-
สมุนไพรส้มกุ้ง
-
ผักปลัง
-
สมุนไพรกระโดน
-
สมุนไพรจิกนม
-
สมุนไพรจิกเล
-
สมุนไพรจิกน้ำ
-
สมุนไพรเทียนดอก
-
ตะลิงปลิง
-
มะเฟือง
-
เห็ดหูหนู
-
สมุนไพรพญาไร้ใบ
-
สมุนไพรข้าวสารดอกใหญ่
-
สมุนไพรข้าวสารดอกเล็ก
-
สมุนไพรจมูกปลาหลด
-
สมุนไพรครามเถา
-
สมุนไพรกล้วยไม้พันงู
-
สมุนไพรนมตำเลีย
-
สมุนไพรลิ้นควาย
-
สมุนไพรนมเมีย
-
สมุนไพรกระทุงหมาบ้า
-
สมุนไพรโกศพุงปลา
-
สมุนไพรปอบิด
-
สมุนไพรขมิ้นเครือ
-
สมุนไพรเกล็ดมังกร
-
สมุนไพรเกล็ดนาคราช
-
สมุนไพรดอกรัก
-
สมุนไพรอบเชยเถา
-
สมุนไพรเทียนแดง
-
สมุนไพรกระเช้าฝีมด
-
สมุนไพรกระเช้าสีดา
-
สมุนไพรหนุมานประสานกาย
-
สมุนไพรครุฑตีนตะพาบน้ำ
-
สมุนไพรครุฑทอดมัน
-
สมุนไพรโสมจีน
-
สมุนไพรกระจับเขา
-
สมุนไพรผักแปม
-
สมุนไพรอุตพิต
-
สมุนไพรบอนแบ้ว
-
สมุนไพรพลูช้าง
-
สมุนไพรหวายตะมอย
-
สมุนไพรจอก
-
สมุนไพรผักหนาม
-
สมุนไพรเสน่ห์จันทน์แดง
-
สมุนไพรบอนส้ม
-
สมุนไพรเต่าเกียด
-
สมุนไพรว่านเขียวหมื่นปี
-
สมุนไพรว่านสิงหโมรา
-
สมุนไพรกระดาดขาว
-
เผือก
-
บุก
-
สมุนไพรกระดาดดำ
-
เผือกกะลา
-
สมุนไพรพรมตีนสูง
-
สมุนไพรเถามวกขาว
-
สมุนไพรโมกมัน
-
สมุนไพรโมกบ้าน
-
สมุนไพรโมก
-
สมุนไพรคุย
-
สมุนไพรชำมะนาดป่า
-
สมุนไพรยี่โถฝรั่ง
-
สมุนไพรระย่อม
-
สมุนไพรชะย่อมหลวง
-
สมุนไพรลั่นทมแดง
-
สมุนไพรลั่นทมขาว
-
ลั่นทมสมุนไพร
-
สมุนไพรยี่โถ
-
สมุนไพรโมกใหญ่
-
สมุนไพรพริกป่าใหญ่
-
สมุนไพรพุดซ้อน
-
สมุนไพรตีนเป็ดน้ำ
-
สมุนไพรตีนเป็ดทราย
-
สมุนไพรแพงพวยฝรั่ง
-
สมุนไพรหนามพรม
-
สมุนไพรหนามแดง
-
สมุนไพรหิรัญญิการ์
-
สมุนไพรยางน่องเถา
-
สมุนไพรชะลูด
-
สมุนไพรนูดพระ
-
สมุนไพรสัตตบรรณ
-
สมุนไพรทุ้งฟ้า
-
สมุนไพรบานบุรีเหลือง
-
สมุนไพรโมกเครือ
-
สมุนไพรนมควาย
-
สมุนไพรกะเจียน
-
สมุนไพรลำดวน
-
สมุนไพรกระดังงาไทย
-
สมุนไพรสะแกแสง
-
น้อยหน่า
-
น้อยโหน่ง
-
ทุเรียนเทศ
-
สมุนไพรกำลังวัวเถลิง
-
สมุนไพรค้อนหมาแดง
-
มะกอก
-
สมุนไพรรักใหญ่
-
สมุนไพรมะม่วง
-
สมุนไพรอ้อยช้าง
-
มะปราง
-
มะม่วงหิมพานต์
-
สมุนไพรพลับพลึงดอกแดง
-
สมุนไพรพลับพลึง
-
สมุนไพรบานไม่รู้โรย
-
สมุนไพรหญ้าพันงูแดง
-
สมุนไพรหงอนไก่ไทย
-
สมุนไพรว่านแร้งคอคำ
-
สมุนไพรผักโขมหนาม
-
สมุนไพรผักโขม
-
สมุนไพรผักเป็ด
-
สมุนไพรหญ้าพันงูขาว
-
สมุนไพรกระเทียม
-
สมุนไพรหอมไทย
-
สมุนไพรปรู
-
สมุนไพรผักเบี้ย
-
สมุนไพรผักโขมหิน
-
สมุนไพรหญ้าไข่เหา
-
สมุนไพรสะเดาดิน
-
สมุนไพรรางจืด
-
สมุนไพรเนียม
-
สมุนไพรทองพันชั่ง
-
สมุนไพรต้อยติ่งไทย
-
สมุนไพรดาดตะกั่ว
-
สมุนไพรใบเงิน ใบทอง ใบนาก
-
สมุนไพรกระดูกไก่ดำ
-
สมุนไพรพญาปล้องทอง
-
สมุนไพรสังกรณี
-
สมุนไพรอังกาบหนู
-
เสลดพังพอน
-
สมุนไพรอังกาบ
-
สมุนไพรตำลึงหวาน
-
สมุนไพรฟ้าทะลายโจร
-
สมุนไพรเสนียด
-
สมุนไพรเหงือกปลาหมอเครือ
-
สมุนไพรฝักราชพฤกษ์
-
สมุนไพรผลราชดัด
-
สมุนไพรเทียนตาตั๊กแตน
-
สมุนไพรดีปลี
-
สมุนไพรกระวาน
-
สัณฐานของผล
-
สมุนไพรกลีบจำปา
-
สมุนไพรดอกสารภี
-
สมุนไพรกานพลู
-
สัณฐานของดอก
-
ใบโคคา:คุณอนันต์ โทษมหันต์
-
สมุนไพรใบผักบุ้งขัน
-
สมุนไพรใบเปล้าน้อย
-
สมุนไพรใบตองแตก
-
สมุนไพรใบชาแป้น
-
ใบของต้นคนที
-
สัณฐานของใบ
-
สมุนไพรจันทร์แดง
-
สมุนไพรกฤษณา
-
สมุนไพรแก่นฝาง
-
สมุนไพรแก่นจันทน์
-
ยาจากแก่น
-
สมุนไพรอบเชยเทศ
-
สมุนไพรอบเชย
-
สมุนไพรเปลือกรกฟ้า
-
เครื่องยาจากเปลือกต้น
-
หอมแดง
-
สมุนไพรว่านน้ำ
-
สมุนไพรขมิ้นอ้อย
-
สมุนไพรขมิ้นชัน
-
ประโยชน์ทางยาเปลือกหอยขม
-
หอยขม
-
ประโยชน์ทางยาของสังข์
-
สังข์
-
หอยเม็ดขนุน (หอยกระดุม)
-
ประโยชน์ทางยาของเบี้ย
-
ประโยชน์ทางยาของเบี้ย
-
เบี้ย
-
ชั้นหอยกาบเดี่ยว
-
เนาวหอย
-
บทที่ ๒ หมวดมอลลัสกา
-
ปลิงทะเล
-
แผนปลิงคว่ำ – แผนปลิงหงาย
-
ประโยชน์ทางยาของปลิง
-
ชีววิทยาของปลิง
-
ปลิง
-
ประโยชน์ทางยาของไส้เดือน
-
ชีววิทยาของไส้เดือนดิน
-
บทที่ ๑ หมวดแอนเนลิดา
-
เครื่องยาสัตววัตถุ
-
ชื่อวิทยาศาสตร์ของสัตว์
-
ลำดับการจัดหมวดหมู่ของ
-
อาณาจักรสัตว์
-
การจัดหมวดหมู่ของสิ่งมีชีวิต
-
สัตวชาติในภูมิปัญญาไทย
-
บทนำ
-
เครื่องยาจากลำต้นใต้ดิน
-
ลำต้นสัณฐานของลำต้น
-
สมุนไพรรากเจตมูลเพลิง
-
สมุนไพรยิงโสม
-
สมุนไพรรากดองดึง
-
เครื่องยาจากราก
-
สัณฐานของราก
-
ถิ่นที่อยู่ของพืช
-
สัณฐานวิทยาของพืชสมุนไพร
-
สรรพคุณเภสัช
-
ข้อพึงรู้เกี่ยวกับเครื่องยา
-
ความหมายของสมุนไพร
-
เครื่องยาพฤกษวัตถุ
-
สุรา
-
น้ำอัษฎางคุลี
-
น้ำส้มสายชู
-
น้ำส้มซ่า
-
น้ำร้อน
-
น้ำมูตรโคดำ
-
น้ำมะนาว
-
น้ำมะงั่ว
-
น้ำมวกเขา
-
น้ำผึ้งและน้ำผึ้งรวง
-
น้ำใบผักไห่
-
น้ำใบชา
-
น้ำใบกล้วยตีบ
-
น้ำนม
-
น้ำดอกไม้เทศ
-
น้ำดอกไม้
-
น้ำซาวข้าว
-
น้ำชะเอม
-
สมุนไพรจันทน์ขาว
-
น้ำขิง
-
น้ำกระเทียม
-
ขัณฑสกร
-
น้ำกระสายยาที่ใช้ในตำราพระโอสถพระนารายณ์
-
ตำราพระโอสรพระนารายณ์
-
สมุนไพรญ่าฝรั่น
-
น้ำมันหอม
-
สัตตเขา เนาวเขี้ยว
-
การเตรียมน้ำกระสายยา
-
สมุนไพรแมงลัก
-
สมุนไพรมะเกลือ
-
ทับทิม
-
ยาเหลืองปิดสมุทร
-
สมุนไพรชุมเห็ดเทศ
-
ยาธาตุบรรจบ
-
สมุนไพรชะเอมไทย
-
ความนำเรื่องน้ำกระสายยา
-
สมุนไพรกระชายดำ
-
-
สมัครรับข่าวสาร
น้ำใบผักไห่
น้ำใบผักไห่
น้ำใบผักไห่ เป็นน้ำคั้นที่ได้จากใบผักไห่ทำโดยการเอาใบผักไห่มาล้างน้ำให้สะอาดตำพอแหลกในครกที่สะอาด แล้วคั้นเอาแต่น้ำด้วยผ้าขาวบางที่ทับซ้อนกัน๒-๓ชั้น ถ้าเข้มข้นมากเกินไปอาจเจอด้วยน้ำสุกหรือน้ำสะอาดเล็กน้อย
มีชื่อพฤกษศาสตร์ว่า Momordica charantia L.
ในวงศ์ Cucurbitaceae
บางถิ่นเรียก มะระ มะระขี้นก (ทั่วไป) มะห่อย มะไห่ (พายัพ) ผักเหย(สงขลา) หรือผักไห (นครศรีธรรมราช) ฝรั่งเรียกผลของผักไห่ว่า balsam pear หรือ bitter cucumber ผักไห่มีปลูกเป็นพืชสวนครัว หรืออาจพบขึ้นตามที่รกร้างทั่วไป หรืออาจหาซื้อได้ตามตลาดสดทั่วไป ในตำรับยาพื้นบ้านของหลายชนชาติในเอเชีย ระบุสรรพคุณของผักไห่ไว้อย่างหลากหลาย เช่น
ราก ต้มน้ำดื่ม เป็นยาลดไข้ บำรุงธาตุ ใช้ทาภายนอก เป็นยาฝาดสมาน แก้ริดสีดวงทวาร และแก้บาดแผลอักเสบ
ยอดอ่อน กินได้เป็นยาเจริญอาหาร เป็นยาระบายอ่อนๆ ใช้ในคนไข้โรคตับและท่อน้ำดีอักเสบ
น้ำคั้นจากใบ กินเป็นยาทำให้อาเจียน เป็นยาระบาย และบรรเทาโรคท่อน้ำดีอักเสบ
ดอก ชงกินแก้หอบหืด
ผล กินเป็นยาขม เจริญอาหาร บำรุงธาตุ บำรุงร่างกาย ลดน้ำตาลในเลือด ฟอกเลือด สมานแผล แก้ไข้ แก้ร้อนใน เป็นยาระบายอย่างอ่อน ขับพยาธิ แก้โรคตับและม้าบ อักเสบ
เมล็ด กินเป็นยาขับพยาธิตัวกลม และบำรุงร่างกาย ตำราสรรพคุณยาโบราณของไทยว่าใบผักไห่มีรสขมเป็นยาเจริญอาหารเป็นยาฟอกเลือดเป็นยาระบายอ่อนใช้ในคนไข้โรคตับและท่อน้ำดีอักเสบน้ำคั้นจากใบใช้เป็นยาระบายใช้เป็นยาบรรเทาอาการท่อน้ำดีอักเสบเป็นยาระบายกินมากอย่าทำให้อาเจียน
ยาขนานที่ ๑๗ ในตำราพระโอสถพระนารายณ์ อันเป็นยาแก้อาโปธาตุ (ธาตุน้ำ)พิการนั้น ให้ใช้น้ำใบผักไห่หรือน้ำใบกล้วยตีบ เป็นน้ำกระสายยา ซึ่งนอกจากจะช่วยละลายยาให้กินได้แล้วใบผักไห่ยังช่วยเสริมฤทธิ์ของยาตัวอื่นๆในตำรับได้
ผักไห่เป็นไม้เถา ลำต้นมีขน ไม่แตกแขนง ลำต้นมีมือเกาะ ใบเป็นใบเดี่ยว เรียงสลับกัน ขนาดกว้างและยาวประมาณ ๓-๕ เซนติเมตร ขอบใบเว้าเป็นแฉก ๕-๗ แฉก ดอกเพศผู้และดอกเพศเมียอยู่ต่างดอก แต่อยู่ต้นเดียวกันมักออกดอกเดี่ยวๆที่ซอกใบ มีใบประดับลูกโล่ ดอกเพศผู้มีก้านดอกยาว ๕-๑๕ เซนติเมตร กลีบเรียงติดกันเป็นรูประฆัง ปลายแยกเป็นแฉกรูปไข่ ๕แฉก กลีบดอกเชื่อมกันตอนโคน ปลายแยกเป็นแฉกลึกๆ ๕ แฉก เมื่อดอกบานเต็มที่จะกางออก มีเกสรเพศผู้อยู่ ๓ อัน ดอกเพศเมียคล้ายดอกเพศผู้ แต่ก้านดอกสั้นกว่า รังไข่มีผิวขรุขระ ปลายท่อรังไข่แยกออกเป็น ๓ แฉก ที่ปลายเป็นตุ่ม ผลรูปกระสวย ผิวขรุขระ เมื่อสุกจะมีสีเหลือง ภายในเมล็ดภายในมีเมล็ดจำนวนมาก เมล็ดมีลักษณะแบน ค่อนข้างเหลี่ยม เมล็ดแก่ก็มีเยื่อหุ้มสีแดง
ผลของผักไห่รู้จักกันในชื่อ มะระขี้นก ผลอ่อนกินเป็นอาหารได้ ช่วยให้เจริญอาหาร บำรุงธาตุ แต่ผลแก่ที่เปลือกผลเป็นสีแสดเมล็ดเป็นสีแดงมีพิษกินไม่ได้ ในปัจจุบันมะระขี้นก ได้รับความสุขใจอย่างกว้างขวางในประเทศ และต่างประเทศเนื่องจากการค้นพบว่าสารสกัดจากมะระขี้นกมีผลดี ๒ อย่างคือ ๑.ลดระดับน้ำตาลในเลือดในผู้ป่วยโรคเบาหวานได้ และ ๒.ต้านเชื้อไวรัสที่ทำให้เกิดโรคเอดส์(HIV-virus) ได้ ซึ่งอาจนำไปสู่มิติใหม่ในการบำบัดโรคทั้งสอง
ในอนาคตอันใกล้นี้ คัมภีร์อายุรเวทของอินเดียบันทึกไว้ว่า มะระขี้นก ใช้แก้เบาหวานได้ ทำให้นักวิทยาศาสตร์ได้ ใช้ความพยายามตลอดสิบปีที่ผ่านมา เพื่อศึกษาผลของสารสกัดจากมะระขี้นก ต่อระดับน้ำตาลในเลือดพบว่าสารสกัดจากมะระขี้นกมีผลต่อการลดระดับน้ำตาลในเลือดได้อย่างมีนัยสำคัญทั้งยังพบว่าเลขดังกล่าวเป็นผลรวมของชื่อของสารชื่อคาแรนติน (charantin)กับ สารประกอบโปรตีนชนิดหนึ่ง คือ พี-อินซูลิน (P-insulin) หรือพอลีเพปไทด์-พี(polypeptide-P) โดยที่ตัวอักษร P ย่อมาจากคำว่า Plant ที่แปลว่า พืช นอกจากนั้นยังมีรายงานว่าสารสกัดจากมะระขี้นก
มีสารประกอบโปรตีนอีกชนิดหนึ่งคือ เอ็มเอพี-๓๐ (MAP-30) ซึ่งมีฤทธิ์ต้านเชื้อไวรัส ที่ทำให้เกิดโรคเอดส์ได้และพบว่าโปรตีนชนิดนี้ยังพบในสวนผลเช่นกันแต่ในปริมาณน้อยกว่ามากสารโปรตีนชนิดนี้อย่างแสดงได้ซึ่งสนับสนุนการต้านเชื้อไวรัสที่ทำให้เกิดโรคเอดส์อีกหลายอย่างนอกจากนั้นยังเสริมฤทธิ์ของยาต้านอักเสบ ซึ่งกลไกการออกฤทธิ์ยังอยู่ในระหว่างการศึกษาในต่างประเทศมีการนำสารสกัดจากมะระขี้นกไปใช้กับผู้ป่วยที่มีอาการสัมพันธ์กับเอดส์และผู้ป่วยโรคเบาหวานโดยเฉพาะกับโรคเบาหวานประเภทสองในรูปแบบยาสมุนไพรสวนในบ้านเรามียาแผนโบราณจากมะระขี้นกอยู่หลายขนานโดยทั่วไปจะมีข้อบ่งใช้เป็นยาขมช่วยให้เจริญอาหารแม้ว่ามะระขี้นกและสารสกัดจากมะระขี้นกอาจจะปลอดภัยในการบริโภคเนื่องจากใช้เป็นอาหารมาแต่โบราณได้ก็ควรระวังในการใช้ปริมาณมากๆโดยเฉพาะคนในคนปกติ ที่ไวต่อภาวะน้ำตาลในเลือดต่ำเกิดจากมะระขี้นกและสารสกัดจากมะระขี้นกมีฤทธิ์ลด น้ำตาลในเลือดได้รวมทั้งในสตรีมีครรภ์ เนื่องจากสารสกัดจากรากผลและเมล็ดมีผลบีบมดลูกในสัตว์ทดลอง
รูปภาพจาก:YouTube,kapook.com